ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,342 รายการ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของกรมศิลปากร ประจำปี ๒๕๖๕ (integrity and Transparency Assessment : ITA)
O๑ โครงสร้าง
O๒ ข้อมูลผู้บริหาร
O๓ อำนาจหน้าที่
O๔ แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
O๕ ข้อมูลการติดต่อ
O๖ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
O๗ ข่าวประชาสัมพันธ์
O๘ Q&A
O๙ Social Network
O๑๐ แผนดำเนินงานประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ส่วนที่ ๑O๑๐ แผนดำเนินงานประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ส่วนที่ ๒
O๑๑ รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน รอบ ๖ เดือน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๑๒ รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔
O๑๓ คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
O๑๔ คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
O๑๕ ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ ๖ เดือนแรก ของปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๑๖ รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
O๑๗ E-Service
O๑๘ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ส่วนที่ ๑O๑๘ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ส่วนที่ ๒
O๑๙ รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี รอบ ๖ เดือน ของปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๒๐ รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔
O๒๑ แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ส่วนที่ ๑O๒๑ แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ส่วนที่ ๒
O๒๒ ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๒๓ สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน (๖ เดือนแรก) ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
O๒๔ รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔
O๒๕ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๒๖ การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๒๗ หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๒๗-๑ หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ข้อ ๑ การสรรหาและคัดเลืออกบุคลากร และ
ข้อ ๒ การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร
O๒๗-๒ หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ข้อ ๓ การพัฒนาบุคลากร
O๒๗-๓ หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ข้อ ๔ การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร
O๒๗-๔ หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ข้อ ๕ การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญ กำลังใจ
O๒๘ รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔
O๒๙ แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
O๓๐ ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบO๓๑ ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ (๖ เดือนแรก) ของปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๑ ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบปี ๒๕๖๔ รอบ ๖ เดือนO๓๒ ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
O๓๓ การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๔ นโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy) ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๕ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๖ การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๗ การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๘ การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรตามมาตรฐานทางจริยธรรม ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๓๙ แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๔๐ รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต รอบ ๖ เดือน ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕
O๔๑ รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ส่วนที่ ๑O๔๑ รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ส่วนที่ ๒
O๔๒ มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
O๔๓ การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ปี พ.ศ. ๒๕๖๕
.........................................................
วัดบ้านตำแย ตั้งอยู่ บ้านตำแย หมู่ที่ ๑ ตำบลไร่น้อย อำเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนและกำหนดเขตที่ดินโบราณสถานวัดบ้านตำแย ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนพิเศษ ๘๐ ง วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๐ พื้นที่โบราณสถานประมาณ ๑ ไร่ ๑ งาน ๖๙.๒๘ ตารางวา โดยมีสิ่งสำคัญ คือ สิม (อุโบสถ) วัดบ้านตำแย
--- สิม (อุโบสถ) วัดบ้านตำแย ตามประวัติได้เริ่มสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๗ โดยมีจารึกปรากฏอยู่ทางเข้าประตูเป็นภาษาไทน้อย ระบุได้ใจความว่า “...ญาครูทา (พระเจ้าอาวาส-ชื่อทา) สมเด็จชาต ภิกษุ สามเณร อุปาสก และอุบาสิกา ได้ร่วมกันสร้างขึ้น...”
--- สิม (อุโบสถ) สร้างหันหน้าทางทิศตะวันออก ก่ออิฐถือปูน ตั้งอยู่บนฐานเอวขันในผังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด ๓ ห้อง ด้านหน้าเป็นมุขโถงมีราวระเบียงทึบล้อมรอบ โครงสร้างอาคารใช้เสาและผนังรับน้ำหนัก หน้ามุขโถงมีเสา ๒ ต้น รองรับส่วนหลังคาทรงจั่วมุงกระเบื้องดินเผา มีบันไดทางขึ้นด้านหน้าเพียงด้านเดียว ตรงกับประตูทางเข้า ผนังด้านข้างมีหน้าต่างด้านละ ๑ ช่อง ผนังห้องด้านหลังก่อทึบ ประดับตกแต่งหลังคาด้วยชุดไม้แกะสลัก ประกอบด้วย โหง่ (ช่อฟ้า) ใบระกา และ หางหงส์ หน้าบันเป็นลายไม้ตั้ง มีคันทวยไม้แกะสลักที่ผนังด้านข้างคั่นระหว่างห้อง ด้านในประดิษฐานพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน ปางมารวิชัยในซุ้มเรือนแก้ว สิม (อุโบสถ) วัดบ้านตำแย ได้รับการบูรณะเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ พ.ศ. ๒๕๖๓
------------------------------------------------
++ อ้างอิง ++
--- พรรณธิพา สุวรรณี. สิมพื้นบ้านภาคอีสานในเขตเมืองอุบลราชธานี. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร บัณฑิต (ประวัติศาสตร์ศิลปะ) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๖.
--- สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี. โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแล้วในพื้นที่สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี (เล่ม ๑ : จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดยโสธร จังหวัดมุกดาหาร). อุบลราชธานี : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์, ๒๕๖๓.
ข้อมูล : กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๙ อุบลราชธานี
สุ่ม วรกิจพิศาล. เวชศาสตร์วรรณาตำราแพทย์แบบเก่า เล่ม 4 ตำรายา. พระนคร: พิศาลบรรณนิติ์, 2469.
ว่าด้วยเรื่องตำราแพทย์แบบเก่า ได้รวบรวมคัมภีร์แพทย์และตำรายาต่าง ๆ เช่น คัมภีร์อภัยสันตาว่าด้วยโรคต้อต่าง ๆ ที่ตา คัมภีร์มหาโชตรัตกล่าวถึงโรคโลหิตระดูสตรี ตำรามุขโรคว่าด้วยโรคเกิดแก่ทวาร ตำราอุจจาระ และคัมภีร์ว่าด้วยโรคไกษย 18 ประการ เป็นต้น ทั้งนี้สุ่ม วรกิจพิศาล ได้เรียบเรียงไว้ตามตำราของท่านพระยาประเสริฐสาตรดำรง (หนู) ผู้เป็นบิดา
กรมศิลปากรขอเชิญชมการถ่ายทอดสด Facebook Live การแถลงข่าวนิทรรศการ "เซรามิกแห่งแหลมทองและแดนอาทิตย์อุทัย: สานตำนานสายใยไม่เสื่อมคลายในพาณิชยวัฒนธรรมโลก" ในวันพฤหัสบดีที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๕ เวลา ๑๔.๐๐ น. ผู้สนใจสามารถติดตามชมได้ทาง Facebook Live : กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม Facebook Live : กลุ่มเผยแพร่ฯ กรมศิลปากร
-- องค์ความรู้จากเอกสารจดหมายเหตุ : ลายแทง -- สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดพะเยามีแผนที่โครงข่ายถนนไว้ใช้งาน ไม่แปลก หน่วยงานไหนๆ ก็มี แต่ . . . ความน่าสนใจอยู่ที่มีการระบุตำแหน่งฝาย สระ และอ่างเก็บน้ำไว้ทั้งจังหวัด แผนที่โครงข่ายถนนมาตรฐานจังหวัดพะเยาที่นำมาเสนอนี้ ไม่ทราบวัน เดือน ปี จัดทำ มุมขวาด้านล่างในกรอบสี่เหลี่ยมระบุเพียงมาตราส่วนขนาด 1 : 250,000 เส้นทางหลวงแผ่นดิน ทางมาตรฐาน รพช. (สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท) ทางมาตรฐานในโครงการ ขอบเขตประเทศ จังหวัด อำเภอ และที่ตั้ง ส่วนลักษณะแผนที่แสดงถึงภูมิประเทศให้เห็นภูเขา เนินสูง และที่ราบชัดเจน แล้วเจ้าหน้าที่สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดพะเยา ได้นำมาระบุสัญลักษณ์ของแหล่งน้ำประดิษฐ์หรือแหล่งน้ำก่อสร้าง ทั้งอ่างเก็บน้ำ ฝาย สระมาตรฐาน กล่าวได้ว่า " มันเป็นลายแทง " สำหรับงานภาคการเกษตรกับชลประทานอย่างดี ถ้าสังเกตแผนที่โดยตลอด เราจะเห็นแหล่งน้ำข้างต้นค่อยๆ กระจายตัวจากกว๊านพะเยาออกไป มีความสำคัญและสัมพันธ์กับแม่น้ำอิงเป็นหลัก น่าเสียดายที่แผนที่ไม่ปรากฏวัน เดือน ปี จัดทำ ไม่เช่นนั้นเราจะสืบค้นประวัติการดำเนินงาน การกระจายของแหล่งน้ำ หรือต่อยอดภารกิจอื่นๆ ในช่วงเวลาเดียวกันได้ หากสิ่งหนึ่งที่สามารถกล่าว ณ ที่นี้คือ " แผนที่ละเอียดมาก " ผู้จัดทำระบุสัญลักษณ์ฝาย อ่าง สระน้ำ ในช่วงเวลาที่ไม่มีระบบ GPS ที่เพียงแค่คลิกก็ปรากฏ หรือ Map Digital มีเมนูง่ายดาย มันสะท้อนถึงความอุสาหะและรอบรู้ไม่น้อย .ผู้เขียน : นายธานินทร์ ทิพยางค์ (นักจดหมายเหตุ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ พะเยา)เอกสารอ้างอิง : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ พะเยา. เอกสารสถานีประมงน้ำจืดจังหวัดพะเยา ผจ (2) กษ 1/14 แผนที่โครงข่ายถนนมาตรฐานจังหวัดพะเยา [ ม.ท. ] #จดหมายเหตุ #องค์ความรู้จากจากจดหมายเหตุ #หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯพะเยา #เอกสารจดหมายเหตุ
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 61/4ประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 28 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 62/7ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 66 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
ชื่อผู้แต่ง จำเนียร ทรงฤกษ์
ชื่อเรื่อง ชีวประวัติพุทธสาวก (ประวัติอัจฉริยเถระ)
ครั้งที่พิมพ์ -
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์อักษรสมัย
ปีที่พิมพ์ 2525
จำนวนหน้า 108 หน้า
รายละเอียด
ผู้เรียบเรียงตั้งใจค้นคว้ารวบรวมและเรียบเรียงเพื่อให้เป็นชีวประวัติอัจฉริยบุคคลหรือบุคคล
สำคัญของโลกในทางพุทธศาสนาและเพื่อเป็นชีวิตานุสาวรีย์ กับตัวท่านของเนื้อหาประกอบด้วย ชีวประวัติพระมหาเถระจำนวน ๔ รูป ประกอบด้วยพระรัฏฐบาลเถระพระราชเถระพระราทุลเถระพระเรวัตทิรวนัยเถระ พระลกุณฏกภัททัยเถระ พระวักกลิเถระ
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 153/1เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)
มงฺคลตฺถทีปนี (มงฺคลตฺถทีปนีเผด็จ) ชบ.บ 181/2 เอกสารโบราณ (คัมภีร์ใบลาน)