ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,619 รายการ

พระญาลิไทย.  ไตรภูมิพระร่วง.  พิมพ์ครั้งที่ 7.  นนทบุรี: บรรณาคาร, 2515.          พระเจ้าแผ่นดินในสมัยกรุงสุโขทัยมี 6 พระองค์ คือ ขุนอินทราทิตย์  ขุนบานเมือง ขุนรามคำแห่ง พระญาเลลิไทย หรือเลือไทย พระญาลิไทย และพระเจ้าศรีสุริยพงษ์รามมหาธรรมิกราชาธิราช  พระญาลิไทย มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและมีความสามารถในการแต่งเรื่องไตรภูมิพระร่วงขึ้นที่กล่าวถึงภูมิ (แดน) ทั้ง 3 คือ กามภูมิ 11, รูปภูมิ 16 และอรูปภูมิ 4 ซึ่งมีเนื้อหาพรรณนาถึงที่อยู่ ที่ตั้ง และการเกิดของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา ที่ตั้งเหล่านี้มีเขาพระสุเมรุเป็นหลัก เขาพระสุเมรุนั้นตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม ทิวเขามีชื่อต่างๆดังนี้ 1. ยุคนธร 2. อิสินธร 3. กรวิก 4. สุทัศน์ 5. เนมินธร 6. วินันตก และ 7.อัศกรรณ ซึ่งเป็นเขารอบนอกสุด ทิวเขาเหล่านี้ เรียกว่า เขาสัตตบริภัณฑ์ ส่วนทะเลที่รายล้อมอยู่ 7 ชั้น เรียกว่า สีทันดร ถัดจากทิวเขาอัศกรรณออกมาเป็นมหาสมุทรอยู่ทั่วทุกด้าน แล้วจะมีภูเขาเหล็กกั้นทะเลนี้ไว้รอบเรียกว่า ขอบจักรวาล พ้นไปนอกนั้นเป็นนอกขอบจักรวาล


ชื่อเรื่อง                         ธมฺมบทวณฺณนา ธมฺมบทฏฺฐกถา (ขุทฺทกนิกายฏฺฐกถา) อย.บ.                            327/17 หมวดหมู่                       พุทธศาสนา ลักษณะวัสดุ                   58 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 53 ซม. หัวเรื่อง                         พระธรรมเทศนา                                                                       บทคัดย่อ/บันทึก           เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับล่องชาด ไม้ประกับธรรมดา


คนโบราณสูงแปดศอกจริงมั้ยนะมาค้นคำตอบจากผลงานของนางสาวปิยะธิดา ราชวัตรนักศึกษาฝึกสหกิจสาขามานุษยวิทยาวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยนครพนม


           สำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร แจกหนังสือ “จดหมายเหตุงานพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ฉบับสื่อมวลชน” จำนวน 2,000 ชุด ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องใน “วันนวมินทรมหาราช” 13 ตุลาคม 2566             ผู้สนใจสามารถนำบัตรประชาชนเพื่อลงทะเบียนรับหนังสือ 1 บัตร ต่อ 1 ชุด ได้ที่ โถงกลาง ชั้น 1 อาคาร 1 สำนักหอสมุดแห่งชาติ ในวันจันทร์ - วันศุกร์ เวลา 9.00-16.00 น. ตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2566 เป็นต้นไปจนกว่าหนังสือจะหมด             สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ สำนักหอสมุดแห่งชาติ โทรศัพท์  0 2280 9828-32 ต่อ 113, 118, 125, 127  0 2280 9846, 0 22809848, 0 2280 9851 (*เนื่องจากหนังสือมีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก โปรดนำถุงผ้ามาสำหรับใส่หนังสือด้วย)


ชื่อเรื่อง                     เสด็จพระราชดำเนินทรงตัดลูกนิมิต ณ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี 16 ส.ค.16ผู้แต่ง                       -ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือหายากหมวดหมู่                   ศาสนาเลขหมู่                      294.3135 ส898สถานที่พิมพ์               สุพรรณบุรี สำนักพิมพ์                 วิทยานุกูลปีที่พิมพ์                    2516ลักษณะวัสดุ               60 หน้าหัวเรื่อง                     สุพรรณบุรี – ประวัติวัดดอนเจดีย์ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกกล่าวถึงประวัติพระเจดีย์ยุทธหัตถี และประวัติวัดดอนเจดีย์  


           อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ขอมอบความสุขให้ทุกท่านในช่วงปลายปี ต้อนรับเดือน "ธันวาคม" ด้วยการขยายเวลาให้เข้าชม "วัดไชยวัฒนาราม" และ "วัดราชบูรณะ" ในยามค่ำคืน (เพิ่มเติม)      - ช่วงวันพ่อแห่งชาติ เปิดให้เข้าชมตั้งแต่วันที่ 1 - 5 ธันวาคม 2566           - ช่วงวันรัฐธรรมนูญ เปิดให้เข้าชมตั้งแต่วันที่ 8 - 11 ธันวาคม 2566           - ช่วงเทศกาลมรดกโลก เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ 15 - 24 ธันวาคม 2566           ทั้งนี้ กรมศิลปากร โดยอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมโบราณสถานในยามค่ำคืน ณ วัดไชยวัฒนาราม และ วัดราชบูรณะ ตั้งแต่เวลา 18.00 - 22.00 น. (ซื้อบัตรเข้าชมได้ถึงเวลา 21.00 น.) ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 50 บาท ผู้พิการ และชาวไทยผู้มีอายุมากกว่า 60 ปี เข้าชมฟรี ทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ วันหยุดนักขัตฤกษ์ และเทศกาลสำคัญ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา โทร 0 3524 2286 ต่อ 101 E-mail Ayh_hispark@hotmail.com


"เลาะริมโขง เบิ่งสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น"ที่รัตนวาปีของดีที่ไม่ได้มีแค่บั้งไฟพญานาค #อย่าลืมแวะเที่ยววัดริมโขงกันนะคะค้นคว้า/เรียบเรียง : ทรัพย์อนันต์ ซื่อสัตย์, กุลวดี สมัครไทยกราฟิก : ทรัพย์อนันต์ ซื่อสัตย์กลุ่มโบราณคดี สำนักศิลปากรที่ ๘ ขอนแก่นสอบถามหรือแจ้งข้อมูลโบราณสถาน 043-242129 Line: finearts8kk E-mail: fad9kk@hotmail.comพื้นที่ในความรับผิดชอบขอนแก่น บึงกาฬ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี#องค์ความรู้ #บทความ #รัตนวาปี#สำนักศิลปากรที่8ขอนแก่น #อีสาน


เรื่อง บัว... ราชินีแห่งไม้น้ำ ผู้เรียบเรียง/จัดทำ : นางสาวกาญจนา ศรีเหรา (บรรณารักษ์)


ชื่อเรื่อง                    สพ.ส.69 ตำรายาแผนโบราณประเภทวัสดุ/มีเดีย       สมุดไทยขาวISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                  เวชศาสตร์ลักษณะวัสดุ              160; หน้า : ไม่มีภาพประกอบหัวเรื่อง                    ตำรายาแผนโบราณ                    ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก                   ประวัติวัดอู่ทอง ต.โคกคราม  อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี มอบให้หอสมุดฯ 


         พระพิมพ์ดินเผา (ภาพพระอรหันต์สาวก)          แบบศิลปะ : ทวารวดี          ชนิด :  ดินเผา          ขนาด : กว้าง 6.3 เซนติเมตร สูง 10.2 เซนติเมตร          อายุสมัย : ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 13 (หรือราว 1,300 - 1,400 ปีมาแล้ว)          ลักษณะ : พระพิมพ์ดินเผารูปพระสาวก เป็นรูปพระภิกษุนั่งขัดสมาธิราบในท่าสมาธิ ครองจีวรห่มเฉียงไม่มีรัศมี สิ่งสำคัญคือด้านหลังองค์พระพิมพ์ มีจารึก อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต อ่านได้ว่า สาริปุตโต ซึ่งเป็นชื่อพระอัครสาวกองค์สำคัญของ พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน          ประวัติ : ได้จากเจดีย์หมายเลข 11 อำเภออู่ทอง          สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี   แสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่ http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/uthong/360/model/04/   ที่มา: http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/uthong



หยุดอยู่บ้านวันอาทิตย์ เชิญ …มาอ่านผลงานของนางสาวสิริรัตน์ ทิพย์โชติ นักเรียนฝึกประสบการณ์ จากโรงเรียนสตรีราชินูทิศจังหวัดอุดรธานี


ปริวารปาลิ (ปริวารปาลิ)อย.บ.                       298/8หมวดหมู่                   พุทธศาสนาประเภทวัสดุ/มีเดีย       คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ               50 หน้า : กว้าง 4.7 ซม. ยาว 53.4 ซม. บทคัดย่อ          เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคจากวัดประดู่ทรงธรรม อำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา    



             กลุ่มอินเดียและเอเชียใต้ศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี India Studies Center Ubon Ratchathani University ศูนย์ศึกษาอินเดีย ม.อุบลฯ ร่วมกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ขอเชิญร่วมงาน “อุบลราชธานี คเณศจตุรถี บูชา” วันเสาร์ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๓.๓๐ น. เป็นต้นไป ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี โดยมีกิจกรรมสำคัญประกอบไปด้วย เชิญสักการะพระคเณศอายุนับพันปี สาธิตการสักการบูชาพระคเณศ กิจกรรมหล่อพระคเณศจากแม่พิมพ์เพื่อนำมาสักการบูชา และการเสวนา “อุบลราชธานี คเณศจตุรถี บูชา” ลงทะเบียนร่วมกิจกรรมได้ที่ https://forms.gle/MaFTawZ1MBue4GVr8              พระคเณศ หรือ พระพิฆเนศ นับเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ ปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง เป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง) อีกทั้งเป็นเทพแห่งศิลปะทั้งมวล และเป็นเทพองค์สำคัญในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ที่ต้องบูชาก่อนเริ่มพิธีใดๆ เป็นการคารวะในฐานะบรมครูผู้ประสาทปัญญาและความสำเร็จ สามารถขจัดอุปสรรคทั้งปวงให้หมดสิ้นไป กิจการทุกอย่างจึงสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี