ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,347 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.7/6ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 50 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 5 (47-61) ผูก 6หัวเรื่อง : สมนฺตปาสาทิกา--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.30/7ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 32 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 16 (175-181) ผูก 7หัวเรื่อง : สตฺตปฺปกรณาธมฺม --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.54/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 40 หน้า ; 4.8 x 58 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 35 (353-358) ผูก 5หัวเรื่อง : วิธูรบัณฑิต --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง : ตำนานพระเจ้าตนหลวงทุ่งเอี้ยงเมืองพะเยาปางเดิม
ผู้แต่ง : มนตรี ธมฺมเมธี, พระครูใบฎีกา
ปีที่พิมพ์ : 2543
สถานที่พิมพ์ : เชียงใหม่
สำนักพิมพ์ : มิ่งเมือง
ภก.ดรนิติ สันแสนดี.ไม่อยากแพ้ ต้องเข้าใจ ยา(แก้)แพ้.HEALTH CHANNEL Magazine.12:138(may 2017);28.
ปัจจุบันคนไทยเป็นโรคภูมิแพ้กันมากขึ้น ไม่ว่าจะแพ้อากาศ หรือแพ้มลพิษต่าง ๆ เช่นฝุ่นควันเป็นต้น ซึ่งโรคภูมิแพ้เป็นโรคที่พบได้บ่อย สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่วัยเด็กเล็ก ได้แก่โรคแพ้นมวัว โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง และในวัยเด็กโตหรือผู้ใหญ่ ได้แก่โรคภูมิแพ้อากาศ โรคภูมิแพ้ของเยื่อบุตาขาว โรคหอหืด รวมถึงโรคแพ้อาหารทะเล
การที่พบโรคภูมิแพ้ของระบบการ หายใจเพิ่มขึ้น เพราะวิถีชีวิตของเราเปลี่ยนไป เป็นปัจจัยทําให้อุบัติการณ์ของโรคภูมิแพ้ ในปัจจุบันเพิ่มมากขึ้น โดยยาแก้แพ้หรือ ยาต้านฮีสตามีน (Antihistamines) มีสรรพคุณ บรรเทาอาการน้ำมูกไหล อาการจาม เนื่องจากหวัด บรรเทาอาการคันจากสาเหตุ ต่างๆ ลดสารคัดหลั่ง และบรรเทาอาการคัน โดยยาแก้แพ้จะออกฤทธิ์ยับยั้งผลของ ฮีสตามีน (Histamine) ซึ่งมีผลทําให้การ หลั่งน้ำมูก และอาการแพ้ อาการคันลดลง ยาแก้แพ้แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มแรก ยาต้านฮีสตามีนกลุ่ม ดั้งเดิมหรือยาต้านฮีสตามีนกลุ่มที่ทําให้ง่วงซึม เป็นยาต้านฮีสตามีนรุ่นแรก ตัวอย่างยา ในกลุ่มนี้เช่น คลอเฟนิรามีน (Chlorpheniramine) ไดเมนไฮดริเนต (Dimenhydrinate), ไฮดรอไซซีน (Hydroxyzine) และทริโปรลิดีน (Triprolidine) เป็นต้น
ยาในกลุ่มนี้สามารถใช้รักษาอาการ เยื่อจมูกอักเสบเนื่องจากภูมิแพ้ ที่มีอาการคัน จาม น้ำมูกไหล และมักให้ร่วมกับยาชนิดอื่น ตามอาการที่แสดง, เยื่อตาขาวอักเสบ เนื่องจากภูมิแพ้ที่เป็นตามฤดูกาล, ผื่นลมพิษ, ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง, อาการคันตื่นขึ้นเนื่องจาก แมลงกัดต่อย สัมผัสพืชพิษ หรือสัมผัส สารเคมีบางอย่าง นอกจากนี้ยังสามารถ บรรเทาอาการเมารถ เมาเรือได้ ซึ่งยา ในกลุ่มนี้สามารถผ่านเข้าสู่สมองไป กดระบบประสาทได้ จึงทำให้ผู้ที่ใช้ยามีอาการ ง่วงซึม แต่บางครั้งในเด็ก คนชรา หรือผู้ที่ ได้รับยาขนาดสูง อาจพบอาการกระวนกระวาย อยู่นิ่งไม่ได้ นอนไม่หลับ ส่วนอาการข้างเคียง อื่น ๆ ที่พบได้ เช่น จมูกแห้ง ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่า ไม่สบายทางเดินอาหาร ปัสสาวะคั่ง และน้ำหนักตัวเพิ่ม
เนื่องจากยากลุ่มนี้ทําให้ง่วงซึม จึงควรระวังการใช้ในผู้ที่ทํางานเกี่ยวกับ การควบคุมเครื่องจักร ขับรถ และห้ามใช้ร่วมกับ ยากล่อมประสาท ยานอนหลับ เครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ ระวังการใช้ในเด็กเล็ก เพราะ อาจทําให้เกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ยาในกลุ่มนี้อาจทําให้อาการความดันในลูกตา ผิดปกติและภาวะปัสสาวะคั่งแย่ลง จึงควรระวัง การใช้ในผู้ป่วยบางโรค เช่น ความดันในลูกตาสูง ต้อหินบางชนิด และต่อมลูกหมากโต ระวัง การใช้ในผู้ที่อยู่ระหว่างการให้นมบุตรด้วย น้ํานมตนเอง เนื่องจากยาสามารถขับออกทาง น้ํานมได้ และมียาบางตัวอาจก่อให้ทารก เกิดวิกลรูป (ทารกที่คลอดออกมา มีความผิดปกติ) ดังนั้นหญิงมีครรภ์ที่ต้องการ ใช้ยาจึงควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรทุกครั้ง ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
กลุ่มที่สอง ยาต้านฮีสตามีนกลุ่มที่ ไม่ทําให้ง่วงนอน (Non-Sedating Antihistamines) ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์เช่นเดียวกับยาต้านฮีสตามีน กลุ่มดั้งเดิม แต่ยาในกลุ่มนี้ผ่านเข้าสมองได้ น้อยมากจึงทําให้ง่วงซึมน้อยกว่า ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้เช่น เซทริซีน (Cetirizine), ลอราทาดีน (Loratadine) และกลุ่มที่พัฒนา ต่อมา เช่น เลโวเซทริซีน (LevOcetirizine), เดสลอราทาดีน (Desloratadine) เป็นต้น ยาต้านฮีสตามีนกลุ่มนี้สามารถใช้รักษา อาการต่าง ๆ ได้คล้ายกับกลุ่มดั้งเดิม โดยเฉพาะ เซทริซีน ให้ผลดีในการลดผื่น ลมพิษแบบเฉียบพลัน ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง และลดอาการคันได้เร็วกว่ายาอื่นในกลุ่ม เดียวกัน เนื่องจากยาออกฤทธิ์เร็ว แต่อาจให้ผลบรรเทาอาการน้ํามูกไหล อาการเมารถ เมาเรือ ได้ไม่ดีเท่ากลุ่มดั้งเดิม ส่วนข้อดีคือ อาการง่วงซึม จมูกแห้ง ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่า จะพบน้อยกว่ายากลุ่มดั้งเดิม ทั้งนี้ในผู้ที่รับประทานยาอื่นร่วมด้วย ควรแจ้ง ให้แพทย์หรือเภสัชกรทราบ เนื่องจาก อาจเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาเมื่อรับประทาน ร่วมกับยาฆ่าเชื้อบางชนิด
นอกจากนี้ควรระวังการใช้ในผู้ที่ อยู่ระหว่างการให้นมบุตรด้วยน้ํานมตนเอง เพราะยังมีข้อมูลน้อย ระวังการใช้ยาในผู้ป่วย โรคตับ โรคไต และผู้ที่มีประวัติคลื่นหัวใจ ผิดปกติ เพราะอาจต้องปรับขนาดยาลดลง และเนื่องจากมียาบางตัวอาจก่อให้ทารก เกิดวิกลรูปได้เช่นเดียวกับกลุ่มดั้งเดิม ดังนั้น หญิงมีครรภ์ที่ต้องการใช้ยาจึงควร ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรทุกครั้ง ไม่ควร ซื้อยามารับประทานเอง
ยาแก้แพ้ เป็นการรักษาตามอาการ มากกว่าแก้สาเหตุ ดังนั้นเราควรเลือกใช้ ยาแก้แพ้อย่างถูกต้อง เพราะการใช้ยา ทุกชนิดจะมีผลข้างเคียงของยา ทั้งนี้การ บรรเทาอาการแพ้ที่ดีที่สุด คือ หลีกเลี่ยง สิ่งที่แพ้ หมั่นออกกําลังกาย เลือกกินอาหารในปริมาณที่เหมาะสมเท่าที่จําเป็น โดยปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรเมื่อจําเป็น ต้องใช้ยา
1. เวทย์มนต์คาถา อัการขอม ภาษาบาลี เช่น คาถาตรีนิสิงเห, คาถาคงทนอาวุธ, เสกผงดินสอ, ชันพระพุทธเจ้า 5 พระองค์, โองการพระเจ้า 5 พระองค์ ฯลฯ 2. คาถาอาคมและยันต์โสลดมหามงคล 3. ตำรายาเกร็ด เช่น ยาริดสีดวงจมูก, ขี้กลาก เป็นต้น
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. เรื่อง พระเขี้ยวแก้ว. พระนคร : โรงพิมพ์อักษรศรีสมิต, 2473. เรื่อง พระเขี้ยวแก้ว นี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อเสด็จประพาสลังกาทวีป เมื่อ พ.ศ. 2440 ให้รายละเอียดในเรื่องพระทันธาตุ องค์พระทันตธาตุ พระทันตธาตุ ชั้นที่ 2 การรับพระทันตธาตุซึ่งสำคัญว่าเป็นของจริง พระทันตธาตุ ชั้นที่ 3 ตอนท้ายให้รายละเอียดเรื่องแห่เประหะระ และเรื่องพระสงฆ์ลังกาไว้ด้วย
นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. สาส์นสมเด็จลายพระหัตถ์ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ภาคที่ 16. พระนคร : กรมศิลปากร, 2498.
หนังสือเรื่องสาส์นสมเด็จ ภาคที่ 16 นี้ เป็นลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงมีโต้ตอบกันในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพเมื่อทรงว่างจากภาระทางราชการการเมือง และทรงพักผ่อนอย่างเงียบ ๆ พระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์นี้ เป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไปในหมู่นักศึกษา โบราณคดี ศิลปและวรรณคดี และการปกครอง สาส์นสมเด็จนี้มีอยู่มากมายด้วยกัน ภาคนี้เป็นภาคที่ 16.
ผู้แต่ง : -
ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 3
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : กรมศิลปากร
ปีที่พิมพ์ : 2511
หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานฌาปนกิจศพ นายสุข กันต์ไพเราะ ณ เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง วันที่ 15 กันยายน พุทธศักราช 2511.
ทำเนียบนาม ภาคที่ 2 และ ทำเนียบข้าราชการวังหลังเนื้อหาประกอบด้วยตำแหน่งข้าราชฝ่ายพระราชวังบวรสถานพิมุข ได้แก่ กรมมหาดไทย กรมวัง กรมเมือง กรมนา กรมพระสุรัสวดี กรมอาลักษณ์ กรมราชบัณฑิตย์ กรมโหร กรมพระภูษามาลา กรมพระแสงใน กรมหมอ กรมชาวที่ใหญ่ กรมทหารเกณฑ์หัดปืนแดง กรมล้อมวัง กรมสนมพลเรือน กรมพระคลังสินค้า กรมคลังมหาสมบัติ และกรมพระกระลาโหม นอกจากนี้ประกอบด้วยเนื้อหาทำเนียบข้าราชการวังหลังฝ่ายพลเรือน กรมมหาดไทย และกรมต่าง ๆ
ชื่อเรื่อง : พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม 1 ชื่อผู้แต่ง : จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระปีที่พิมพ์ : 2506 สถานที่พิมพ์ : -สำนักพิมพ์ : -จำนวนหน้า : 332 หน้าสาระสังเขป : พระราชหัตถเลขา คือหนังสือซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเขียนเองไปถึงผู้หนึ่งผู้ใด ฤาลงพระนามด้วยพระราชหัตถ์ในหนังสือซึ่งมีไปถึงผู้หนึ่งผู้ใด เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่ในรัชกาลที่ 3 ได้ทรงศึกษาทราบภาษาอังกฤษก่อนเจ้านายประเทศอื่นทางตะวันออก พระปรีชาญาณปรากฎไปถึงนานาประเทศ เป็นเหตุให้ชาวต่างประเทศที่เป็นนักปราชญ์บ้าง เป็นข้าราชการบ้าง แม้จนพวกพ่อค้าแลมิชชันนารีจะใคร่คุ้นเคยกับพระองค์ ต่างเขียนหนังสือฝากเข้ามาถวายจึงมีพระราชหัดถเลขาตอบ ตามแบบอย่างฝนั่งต่างประเทศมีหนังสือไปมาถึงกัน กล่าวคือที่เขียนเองแลข้างท้ายหนังสือลงชื่อด้วยลายมือเป็นสำคัญนั้น จึงเลยอนุโลมเป็นแบบอย่างต่อมาถึงพระราชหัดถ์ซค่งทรงในภาษาไทยด้วย
ผู้แต่ง : สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์พระจันทร์
ปีที่พิมพ์ : 2489
หมายเหตุ : -
กล่าวถึง พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ระเบียบพระราชานุกิจในรัชกาลที่ 5 และการเสด็จไปเยือนต่างประเทศ ในช่วงปี พ.ศ. 2414-2415.