ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,380 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.7/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 5 (47-61) ผูก 4หัวเรื่อง : อัพภันตรนิทาน--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.30/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 28 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 16 (175-181) ผูก 4หัวเรื่อง : สตฺตปฺปกรณาธมฺม --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.54/2ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 4.8 x 58 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 35 (353-358) ผูก 2หัวเรื่อง : วิธูรบัณฑิต --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง : ตำนานคณะสงฆ์
ผู้แต่ง : ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา
ปีที่พิมพ์ : 2515
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : สามมิตร
วัดศรีสวายตั้งอยู่ทางทิศใต้ของวัดมหาธาตุ และอยู่ใกล้กับกำแพงเมืองสุโขทัยด้านทิศใต้ โบราณสถานสำคัญประกอบไปด้วยปรางค์ ๓ องค์ ที่มีรูปแบบศิลปะลพบุรี ซึ่งได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอม แต่ลักษณะของปรางค์ค่อนข้างเพรียวตั้งอยู่บนฐานเตี้ย ๆ มีลวดลายปูนปั้นบางส่วนเหมือนลายบนเครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์หยวน ได้พบทับหลังสลักเป็นรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ ชิ้นส่วนของเทวรูป และศิวลึงค์ ส่วนด้านหน้าขององค์ปรางค์ มีวิหาร ๒ หลังที่สร้างเชื่อมต่อกัน โบราณสถานทั้งหมดล้อมรอบด้วยกำแพงซึ่งก่อด้วยศิลาแลง จากหลักฐานทางโบราณคดีที่พบทำให้สันนิษฐานว่าวัดศรีสวายสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ และมีการบูรณะเพิ่มเติมในสมัยอยุธยา สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานไว้ว่า วัดนี้เดิมคงเป็นเทวสถานและคงมีชื่อเรียกว่า “ศรีศิวายะ” ซึ่งหมายถึงพระศิวะ และเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๐ พระบาทสมเด็จพระมงกฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงพระราชอิสริยยศ พระบรมโอรสาธิราชได้เสด็จประพาสและทรงพบรูปพระสยม “พระศิวะ” ในวิหารและหลักไม้ปักอยู่ในโบสถ์ซึ่งทรงสันนิษฐานไว้ว่า “เดิมคงเป็นโบสถ์พราหมณ์ใช้ในพิธีโล้ชิงช้า(ตรียัมปวาย)” บริเวณรอบนอกกำแพงแก้วมีสระน้ำ ชาวบ้านเรียกว่า “สระลอยบาป” ตามศาสนาฮินดู อาจใช้ในพิธีลอยบาปหรือล้างบาป ในเวลาต่อมาวัดนี้จึงถูกแปลงให้เป็นวัดในพุทธศาสนา //ข้อมูล : อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
ชื่อเรื่อง : รามเกียรติ์ เล่ม 11
ชื่อผู้แต่ง : พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก, พระบาทสมเด็จพระ
ปีที่พิมพ์ : 2507
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา
จำนวนหน้า : 330 หน้า
สาระสังเขป : พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนบทละคร ดำเนินเรื่องโดยการเล่าเรื่องติดต่อกันตั้งแต่ต้นจนจบ พระราชนิพนธ์บทละครรามเกียรติ์ เล่ม 11 เริ่มจากตอน พระรามสารภาพผิดขอให้สีดากลับเข้าเมืองแต่สีดาไม่ยอมกลับ พระรามเลิกทัพกลับเมือง หนุมานไปลวงนางสีดา นางสีดาหนีไปเมืองบาดาล พระรามรำพึงถึงนางสีดา สดุดีพระรามและนางสีดา จนถึงตอนพระราชประสงค์ของผู้ทรงนิพนธ์รามเกียรติ์
ว่าด้วย ตำรายาเกร็ด เช่น ยาแก้ทราง, ยาแทงทอง, ยาแก้ไข้เนื้อสาริบาด, แก้ปวด, ยาถอนพิษ, ยากะทุงกาน เป็นต้น
จักรปาณี (ฤกษ์), หลวง. นิราศทวาราวดี และ บทละคอนเรื่องมณีพิไชย. พระนคร : กรมศิลปากร, 2512.
เรื่องนิราศทาวารวดี นี้ หลวงจักรปาณี (ฤกษ์) เปรียญ กวีในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 เป็นผู้แต่ง เนื้อหาหัวข้อ นิราศร้างห่างไกลอาลัยสมร นอกจากนี้ในเล่มยังมีเนื้อหาบทละครเรื่องมณีพิไชย ตอนพราหมณ์ยอพระกลิ่นขอพระมณีพิไชยไปเป็นทาส พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อีกด้วย
รัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
จัดพิมพ์ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายสนองพระมหากรุณาธิคุณ
ในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562
ผู้แต่ง : -
ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์กรมแผนที่
ปีที่พิมพ์ : 2486
หมายเหตุ : พิมพ์เนื่องในงานฉลองวันชาติประจำปี พ.ส. 2486
วิวัธนาการ แห่งการทหาน และ สัตราวุธในกองทัพบกสมัยโบราณ เล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะของนักรบไทยสมัยโบราณ ลักษณะและประเภทของอาวุธ หลักการจัดทหานและวิธีรบ และการสดุดีเกียตคุนนักรบไทยในสมัยโบราณ
ชื่อเรื่อง : พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา
ชื่อผู้แต่ง : -
ปีที่พิมพ์ : 2511
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : ศิวพร
จำนวนหน้า : 952 หน้า
สาระสังเขป : หนังสือพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เป็นบันทึกเรื่องราวความเป็นมาของประวัติศาสตร์ชาติไทย กล่าวถึงเรื่องการสร้างกรุงศรีอยุธยา ประกอบด้วยเหตุการณ์เมื่อก่อนสร้างกรุงศรีอยุธยา ประวัติไทย ประวัติขอม ประวัติพม่า พงศาวดารของพระเจ้าอู่ทอง ประวัติของราชอาณาจักรสุโขทัย และประวัติอาณาจักรล้านนาไทย และอธิบายเรื่องราวในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยา จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์