ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,994 รายการ
หมวด 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และความรู้ทั่วไป
จักรพงษ์ จีนะวงษ์. รู้แล้วจะอึ้ง. กรุงเทพฯ: คิดดี, 2555. (030 จ223ร)
บัญชา ปะสีละเตสัง. การเขียนโปรแกรม Swift และ iOS ฉบับพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2561. (005.43 บ523ก)
บัญชา ปะสีละเตสัง. พัฒนา Mobile App ฉบับ Pro Android. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. (005.428 บ253พ)
วิรินทร์ เมฆประดิษฐสิน. ศาสตร์และศิลป์ในการติดตั้งระบบเครือข่ายชั้นเซียน เล่ม 7 แก้ไขปัญหา คอมพิวเตอร์และเครือข่ายสไตล์อาจารย์วิรินทร์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยู เคชั่น, 2557. (004.6 ว693ศ ล.7)
หมวด 100 ปรัชญา
กิจจา บานชื่น. การพัฒนาบุคลิกภาพ = Personality Development. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2564. (155.25 ก637ก)
คาเดอร์, จอห์น. อัจฉริยะหงายเก๋ง = How to Ace the Brainteaser Interview. กรุงเทพฯ: วีเลิร์น, 2554. (153.43 ค332อ)
พรหมเนตร. พรหมชาติพยากรณ์. กรุงเทพฯ: ทีบีเค มีเดีย, 2553. (133.3 พ288พ)
เรวดี สุขสราญรมย์. มาปล่อยปลาดาวกันเถอะ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. (158 ร767ม)
อรอนงค์ อินทรจิตร. จิตวิทยาครอบครัว: หัวอกแม่. กรุงเทพฯ: สถาบันจิตวิทยาฮอทไลน์, 2545. (155.646 อ383จ)หมวด 200 ศาสนา
จนฺทสาโรภิกขุ. ชัยชนะแห่งพุทธะ. กรุงเทพฯ: เม็ดทราย, 2552. (294.311 จ143ช)
นงลักษณ์ สะวานนท์. การเข้าถึงพุทธธรรม. กรุงเทพฯ: ขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์, 2562. (294.3122 น149ก)
นงลักษณ์ สะวานนท์. บุญกิริยาวัตถุธรรมสู่การพ้นทุกข์. กรุงเทพฯ: ขุนทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์, 2559. (294.3122 น149บ)
นักรบทวนกระแส. นักปฏิวัติที่ยิ่งใหญ่ คือ พระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: ฟ้าอภัย, 2555. (294.3092 น375น)
ปฏิโสต. ตะลุยไฟ ตะไลเพลิง. กรุงเทพฯ: กลั่นแก่น, 2564. (294.3144 ป139ต)
พจนวราภรณ์ เขจรเนตร. ปาทวลัญชังเจติยานุสรณ์. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 2563. (294.3135 พ168ป)
พระไพศาล วิสาโล. เส้นผมบังความสุข. กรุงเทพฯ: แปลน พริ้นท์ติ้ง, 2555. (294.3144 พ354ส)
พระราชบัณฑิต. มังคลัตถบรรณนุสรณ์ อายุวัฒนมงคล 76 ปี พระเทพญาณวิศิษฎ์ (ชัยทวี คุตฺตจิตฺโต): มงคลเทศนา เทศนา 5 รส อ่างเก็บน้ำห้วยไร่. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา, 2565. (294.308 พ372ม)
พระอาจารย์สงบ มนสฺสนฺโต. ตกทอง. ราชบุรี: มูลนิธิพระสงบ มนสฺสนฺโต, 2565. (294.3076 พ399ต)
พระอาจารย์สงบ มนสฺสนฺโต. ธรรมมิตรภาพ. ราชบุรี: มูลนิธิพระสงบ มนสฺสนฺโต, 2565. (294.304 พ399ช)
พระอาจารย์สงบ มนสฺสนฺโต. รู้อะไร. ราชบุรี: มูลนิธิพระสงบ มนสฺสนฺโต, 2565. (294.3076 พ399ร)
พระอาจารย์สงบ มนสฺสนฺโต. วิปัสสนาเป็น. ราชบุรี: มูลนิธิพระสงบ มนสฺสนฺโต, 2565. (294.3076 พ399ว)
พระอาจารย์สงบ มนสฺสนฺโต. สัมมาสมาธิ. ราชบุรี: มูลนิธิพระสงบ มนสฺสนฺโต, 2562.
พันธุ์ สังข์หยด. มาร์โลกีย์. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท, 2559. (294.31216 พ567ม)
พุดซ้อน. พบเพื่อจาก. กรุงเทพฯ: โสภณการพิมพ์, 2562. (294.31883 พ826พ)
ภูริวฑฺฒโนภิกขุ. ละโลก โบกธรรม: พรรษาแรกในกระแสธรรม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2565. (294.3144 ภ682ล)
สมณะโพธิรักษ์. รวมเปิดยุคบุญนิยม เล่ม 1. กรุงเทพฯ: กลั่นแก่น, 2563. (294.3144 ส242ร)
หมวด 300 สังคมศาสตร์
กมลพร สอนศรี. เครือข่ายชุมชนฟิลิปปินส์ในประเทศไทย: จากอดีตสู่ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559. (327.5930599 ก136ค)
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. คู่มือมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ ในการทำงาน. กรุงเทพฯ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2564. (364.153 ค695)
เคลาเซอวิตซ์, คาร์ล. ทฤษฎีสงคราม ตอน หลักการรบ: Theory de La Grande Guerre (Combat). กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ กรมยุทธศาสตร์ทหารบก, 2565. (355.4 ค769ท)
จุฬณี ตันติกุลานันท์. การเมืองเรื่องชาติพันธุ์ในมาเลเซีย: ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับจีนและข้อริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, 2564. (327.595051 จ677ก)
ชูเกียรติ ตั้งคุณสมบัติ. คู่มือเตรียมสอบนายสิบตำรวจ และหน่วยราชการอื่นๆ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558. (363.2076 ช642ค)
ชูเกียรติ ตั้งคุณสมบัติ. เตรียมพร้อมสอบท้องถิ่น (ปรับปรุงจาก ปี 2556): เพิ่มเนื้อหารัฐธรรมนูญ 2559 และกฎหมายอื่นที่ใช้สอบ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2559. (352.65076 ช642ต)
ดรุณกิจวิทูร และคณะ. แบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม 1 ตอนต้น (ฉบับปรับปรุง) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: องค์การค้า สกสค., 2557. (372.6 ด132บ)
ตำราพระราชพิธีพรุณศาสตร์ ตำราปลูกไม้ผลกับตำราปลูกเข้าขอโบราณ เรื่องทำนา เรื่องทำสวน. กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์ คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2565. (390.22 ต367)
เทพ สุนทรศารทูล. ศีลธรรมของศึกษานิเทศก์. กรุงเทพฯ: พระนารายณ์, 2536. (371.203 ท596ศ)
นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย. สรรค์สร้างธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2560. (338.4791 น726ส)
เนโกรป็อนเต้, นิคอลัส. ชีวิตยุคดิ๊จิต้อล: เตรียมเข้าสู่สังคมสัญญาณตัวเลข = Being Digital. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ, 2539. (303.483 น769ช)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.6)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.7)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.8)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.9)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.10)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.11)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2560 เล่มที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.12)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2561 เล่มที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.5)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2561 เล่มที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.6)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2561 เล่มที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.7)
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2561 เล่มที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการประจำศาลฎีกา, 2560. (347.077 ศ364ค ล.9)
พลับพลึง คงชนะ. คู่มือครูใช้คู่กับหนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), 2565. (372.89044 พ454ค)
ผู้มีผลงานดีเด่น ปี 2565: พระสงฆ์ ผู้บริหารหารศึกษา ครู บุคคลผู้มีผลงานดีเด่น. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมาน – คุณหญิงเบญจา แสงมลิ, 2565. (371.0092 ส294พ)
เรณุมาศ มาอุ่น. คู่มือครูใช้คู่กับหนังสือเรียน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), 2564. (372.37 ร765ค)
วิรัช ชินวินิชกุล. สารบาญคำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2558. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2558. (347.077 ศ364ส)
วิรัช ชินวินิชกุล. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2559 เล่มที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2559. (347.077 ศ364ค ล.10)
วิรัช ชินวินิชกุล. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2559 เล่มที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2559. (347.077 ศ364ค ล.11)
วิรัช ชินวินิชกุล. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2559 เล่มที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2559. (347.077 ศ364ค ล.12)
วินิจ ชินวินิจกุล. คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2558 เล่มที่ 8. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2558. (347.077 ศ364ค ล.8)
วินัย พงศ์ศรีเพียง. กฎหมายตราสามดวง: แว่นส่องสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2547. (340.09593 ก117)
วินัย พงศ์ศรีเพียร. กฏหมายตราสามดวง: หน้าต่างสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2549. (340.09593 ก117)
วินัย พงศ์ศรีเพียร. เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เบ้าหลอมอารยธรรมสำคัญของโลก 1 = Southeast Asia: The Melting Pot of Civilizations 1. กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการ พิมพ์, 2557. (306.0959 อ887)
ศาลรัฐธรรมนูญ ยึดหลักนิติธรรม ค้ำจุนประชาธิปไตยห่วงใยสิทธิและเสรีภาพของประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักงาน, 2563. (342.0269 ศ365ศ)
สองศตวรรษแห่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทย = Deux Siecles de Relations Franco-Thailandaises. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2564. (327.593044 ส474)
สิทธิกร ศักดิ์แสง. ปัญหาสถานะและลำดับชั้นทางกฎหมายภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560: กรณีศึกษาพระราชกฤษฎีกา: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ = The Final Report about the Problems of the Law Status and Hierarchy by Virtue of the Thai Constitution on the Royal Decree. กรุงเทพฯ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2563. (342.593 ส721ป)
เสน่ห์ จุ้ยโต. การบริหารจินตนาการใหม่แบบบูรณาการ: กรณีศึกษาการบริหารราชการจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2564. (351 ส898ก)
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561. (372.358 ส145ท)
หมวด 400 ภาษาศาสตร์
โทโมโกะ, ซูกายะ. พูดอังกฤษคล่อง ขายง่าย บริการเลิศ ลูกค้าประทับใจ = English for Service Business. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. (428.3495911 ท854พ)
แพก,ซอนยอบ. Lifestyle English พูดภาษาอังกฤษง่ายๆฟุดฟิดได้ทุกวัน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. (428.3495911 พ954ล)
มัทนา บำรุงผล. ภาษาอังกฤษสำหรับงานช่างอุตสาหกรรม = English for Industrial Trades. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2563. (428.2495911 ม346ภ)
หมวด 500 วิทยาศาสตร์
ทวีศักดิ์ จันทรมณี. พิชิตข้อสอบ A-Level Math 1 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: ไลฟ์ บาลานซ์, 2565. (510.76 ท228พ)
เพียรพูล กมลจิตร์ประภา. การวิเคราะห์การถดถอยและการประยุกต์ใช้ด้วยโปรแกรม R = Regression Analysis with Appication in R. กรุงเทพฯ: กองส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2564. (519.536 พ949ก)
สุวิมล พันธ์แย้ม. การวิเคราะห์หลายตัวแปร 1 = Multivariate Analysis 1. กรุงเทพฯ: กองส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2565. (519.535 ส882ก)
เสน่ห์ ผดุงญาติ. เทคนิคทำโจทย์คณิตทีละเรื่อง: ตรรกศาสตร์. นนทบุรี: ธรรมบัณฑิต, 2562. (510.76 ส898ท)
หมวด 600 เทคโนโลยี
บุญธรรม ภัทราจารุกุล. คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัสวิชา 2103-2009. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2558. (671.520151 บ471ค)
บุญธรรม ภัทราจารุกุล. ทฤษฎีเครื่องมือกล = Theory of Machine Tool. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. (621.902 บ471ท)
ปาร์ก ซอนยอง. ผู้ชายลุคใหม่ Make up หล่อใส สไตล์เกาหลี. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2559. (613.7 ป549ผ)
เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์. รู้ทัน ป้องกันเชื้อโรค. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. (616 ร796ร)
วิทยา ทองขาว. งานฝึกฝีมือ 1. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2556 (621.9 ว582ง)
ไวต์, จอห์น. Good Health& Smart Life ในวัย 40 ๋. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. (613.0438 ว967ก)
หมิงเจิ้ง. Smart Business: เจาะกลยุทธ์อาลีบาบาพลิกโฉมโลก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. (658.4063 ห187ส)
อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล. เทคนิคการจัดการความปลอดภัย รหัสวิชา 3111-2009. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2560. (658.38 อ225ท)
อำนาจ ทองแสน. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น = Basic Technical Drawing. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562 (604.2 อ686ข)
อำนาจ ทองแสน. งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น รหัสวิชา 2100-1005. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558. (671.52 อ686ง)
โอฬาร บริสุทธิ์. งานวัดละเอียดช่างยนต์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2556. (629.282 อ991ง)
หมวด 800 วรรณคดี
ณรียา. สัญญารักข้ามกาลเวลา = Promises in Time. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2563. (895.913 ณ252ส)
หมวด 900 ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์
บริษัท ฐานเศรษฐกิจ มัลติมีเดีย จำกัด. พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รัฐบุรุษคู่แผ่นดิน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562. (923.2593 ป711พ)
แผนที่ทางหลวง ESRI (Thailand) เพื่อการเดินทางและท่องเที่ยว ปี 2556. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2556. (912 ผ932)
สมศรี สุกุมลนันท์. อัตชีวประวัติ สมศรี สุกุมลนันท์. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2556. (920.72 ส281อ)
กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ขอเชิญชวนศิลปินผู้ประพันธ์เพลงและผู้ขับร้องเพลง ส่งผลงานเพลงเข้าร่วมการประกวดเพลง “เพชรในเพลง” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช 2567 ตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2567 ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทางเฟสบุ๊กเพจ “เพชรในเพลง กรมศิลปากร” www.facebook.com/pechtnaipleng
นายพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากร เปิดเผยว่า การประกวดเพลง “เพชรในเพลง” เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ จัดขึ้นเพื่อยกย่องบุคคลในวงการเพลงผู้มีผลงานดีเด่นด้านการใช้ภาษาไทย และสนับสนุนให้มีการสร้างสรรค์ผลงานเพลงที่มีคุณภาพทั้งด้านการประพันธ์คำร้องและการขับร้อง ซึ่งปีนี้เป็นปีที่ 21 แบ่งการประกวดออกเป็น รางวัลผู้ประพันธ์คำร้อง “ใช้ภาษาไทยดีเด่น” มี 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยสากล และผู้ประพันธ์คำร้องเพลงไทยลูกทุ่ง และรางวัลผู้ขับร้องเพลง “ใช้ภาษาไทยดีเด่น” มี 4 ประเภท ได้แก่ ผู้ขับร้องเพลงไทยสากลชาย ผู้ขับร้องเพลงไทยสากลหญิง ผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งชาย และผู้ขับร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง โดยผู้ชนะการประกวดแต่ละประเภท จะได้รับพระคเณศของกรมศิลปากร พร้อมเงินรางวัล 15,000 บาท สำหรับรางวัลชนะเลิศ และ 10,000 บาท สำหรับรางวัลรองชนะเลิศ ซึ่งพิธีมอบรางวัลจะจัดขึ้นในงานวันภาษาไทยแห่งชาติ 29 กรกฎาคม 2567
ผู้สนใจสามารถส่งผลงานด้วยตนเอง หรือไปรษณีย์ลงทะเบียน ระบุชื่อผู้ส่งผลงาน ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน ได้ที่ สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ (การประกวดเพชรในเพลง) ชั้น 6 อาคารกรมศิลปากร (เทเวศร์) เลขที่ 81/1 ถนนศรีอยุธยา แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 หรือส่งผลงานทางอีเมล finearts.thai@gmail.com กำหนดส่งผลงานเพลงเข้าร่วมประกวดได้ ตั้งแต่บัดนี้ถึงวันที่ 30 เมษายน 2567 ติดตามรายละเอียดและหลักเกณฑ์การส่งผลงานเพลงเข้าร่วมประกวดได้จากประกาศกรมศิลปากร เรื่อง การประกวดเพลง (เพชรในเพลง) เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๖๗ ดาวน์โหลดได้ที่ https://t.ly/iZIru หรือเฟซบุ๊กเพจ “เพชรในเพลง กรมศิลปากร” www.facebook.com/pechtnaipleng
นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (รมว.วธ.) เปิดเผยว่า เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 รัฐบาล โดยกระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับรัฐบาลสาธารณรัฐอินเดีย โดยสถานเอกอัครราชฑูตอินเดียประจำประเทศไทย สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย 980 หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ดำเนินโครงการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ จากสาธารณรัฐอินเดีย มาประดิษฐานเป็นการชั่วคราว ณ ประเทศไทย เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสองประเทศ โดยการดำเนินการในครั้งนี้สืบเนื่องมาจากโครงการธรรมยาตราจากมหานทีคงคาสู่ลุ่มน้ำโขง : สักการะพระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ โดยมีการจัดงานระหว่างวันที่ 22 กุมภาพันธ์ – 19 มีนาคม 2567 ซึ่งรัฐบาลได้จัดพิธีอัญเชิญอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 และเปิดให้ประชาชนเข้าสักการบูชา ถึง วันที่ 3 มีนาคม 2567 ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง จากนั้นอัญเชิญไปประดิษฐานในส่วนภูมิภาคใน 3 จังหวัด ให้ประชาชนได้เข้าสักการบูชาได้แก่ ภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 5 - 8 มีนาคม 2567 ที่หอคำหลวง อุทยานหลวงราชพฤกษ์ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 10 - 13 มีนาคม 2567 ที่วัดมหาวนาราม (วัดป่าใหญ่) จังหวัดอุบลราชธานี และภาคใต้ ระหว่างวันที่ 15 - 18 มีนาคม 2567 ที่วัดมหาธาตุวชิรมงคล (วัดบางโทง) จังหวัดกระบี่ หลังจากนั้นรัฐบาลอินเดียจะอัญเชิญต่อไปยังราชอาณาจักรกัมพูชาต่อไป
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวต่อว่า พิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ จากพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอินเดีย ณ กรุงนิวเดลี พร้อมพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ จากสถูปโบราณปิปราห์วา เมืองสาญจี สาธารณรัฐอินเดีย มาประดิษฐานเป็นการชั่วคราว ณ ประเทศไทย เป็นความร่วมมือดำเนินการร่วมกันระหว่างกระทรวงวัฒนธรรม สาธารณรัฐอินเดีย กระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงมหาดไทย เป็นการขานรับนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมสถาบันศาสนาให้เป็นกลไกสำคัญสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้วยการนำทุนทางวัฒนธรรมกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก เสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชน ก่อให้เกิดรายได้ของประเทศชาติในภาพรวม รวมทั้งยกระดับประเทศไทยให้เป็นสถานที่สำคัญในการจัดเทศกาลงานที่สำคัญในระดับภูมิภาคและระดับโลก และเป็นการสร้างสัมพันธไมตรีอันดีระหว่างประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา
การจัดงานในครั้งนี้ นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศไทยที่จะหล่อหลอมพลังความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน จึงขอเชิญชวนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศในอาเซียน ในเข้าร่วมสักการบูชาพระบรมสารีกธาตุและพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ อันเป็นการเสริมสร้างสันติธรรมให้เกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยมีประเทศไทยเป็นศูนย์กลางความร่วมมือ และสามารถพัฒนาไปสู่การเป็นศตวรรษแห่งธรรม (Dharma Centuries) ด้วยการนำหลักธรรม ความเชื่อของศาสนาเป็นกลไกสำคัญในการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านศาสนาและส่งเสริมคุณธรรมของประชาคมโลกเพื่อสร้างความสงบสุขแก่มวลมนุษยชาติสืบไป สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สายด่วนวัฒนธรรม 1765
นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (รมว.วธ.) เปิดเผยว่า เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 รัฐบาล โดยกระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับรัฐบาลสาธารณรัฐอินเดีย โดยสถานเอกอัครราชฑูตอินเดียประจำประเทศไทย สถาบันโพธิคยาวิชชาลัย 980 หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ดำเนินโครงการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ จากสาธารณรัฐอินเดีย มาประดิษฐานเป็นการชั่วคราว ณ ประเทศไทย เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสองประเทศ โดยการดำเนินการในครั้งนี้สืบเนื่องมาจากโครงการธรรมยาตราจากมหานทีคงคาสู่ลุ่มน้ำโขง : สักการะพระบรมสารีริกธาตุ และพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ โดยมีการจัดงานระหว่างวันที่ 22 กุมภาพันธ์ – 19 มีนาคม 2567 ซึ่งรัฐบาลได้จัดพิธีอัญเชิญอย่างยิ่งใหญ่ตระการตา ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 และเปิดให้ประชาชนเข้าสักการบูชา ถึง วันที่ 3 มีนาคม 2567 ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง จากนั้นอัญเชิญไปประดิษฐานในส่วนภูมิภาคใน 3 จังหวัด ให้ประชาชนได้เข้าสักการบูชาได้แก่ ภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 5 - 8 มีนาคม 2567 ที่หอคำหลวง อุทยานหลวงราชพฤกษ์ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 10 - 13 มีนาคม 2567 ที่วัดมหาวนาราม (วัดป่าใหญ่) จังหวัดอุบลราชธานี และภาคใต้ ระหว่างวันที่ 15 - 18 มีนาคม 2567 ที่วัดมหาธาตุวชิรมงคล (วัดบางโทง) จังหวัดกระบี่ หลังจากนั้นรัฐบาลอินเดียจะอัญเชิญต่อไปยังราชอาณาจักรกัมพูชาต่อไป
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กล่าวต่อว่า พิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ จากพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอินเดีย ณ กรุงนิวเดลี พร้อมพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ จากสถูปโบราณปิปราห์วา เมืองสาญจี สาธารณรัฐอินเดีย มาประดิษฐานเป็นการชั่วคราว ณ ประเทศไทย เป็นความร่วมมือดำเนินการร่วมกันระหว่างกระทรวงวัฒนธรรม สาธารณรัฐอินเดีย กระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงมหาดไทย เป็นการขานรับนโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมสถาบันศาสนาให้เป็นกลไกสำคัญสร้างคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยด้วยการนำทุนทางวัฒนธรรมกระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก เสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชน ก่อให้เกิดรายได้ของประเทศชาติในภาพรวม รวมทั้งยกระดับประเทศไทยให้เป็นสถานที่สำคัญในการจัดเทศกาลงานที่สำคัญในระดับภูมิภาคและระดับโลก และเป็นการสร้างสัมพันธไมตรีอันดีระหว่างประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนา
การจัดงานในครั้งนี้ นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศไทยที่จะหล่อหลอมพลังความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน จึงขอเชิญชวนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศในอาเซียน ในเข้าร่วมสักการบูชาพระบรมสารีกธาตุและพระอรหันตธาตุของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ อันเป็นการเสริมสร้างสันติธรรมให้เกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยมีประเทศไทยเป็นศูนย์กลางความร่วมมือ และสามารถพัฒนาไปสู่การเป็นศตวรรษแห่งธรรม (Dharma Centuries) ด้วยการนำหลักธรรม ความเชื่อของศาสนาเป็นกลไกสำคัญในการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านศาสนาและส่งเสริมคุณธรรมของประชาคมโลกเพื่อสร้างความสงบสุขแก่มวลมนุษยชาติสืบไป สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สายด่วนวัฒนธรรม 1765
นายวีระชาติ พงค์ชนะ นักโบราณคดีชำนาญการ สำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา เป็นวิทยากรบรรยายนำชมให้กับคณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านแสงดาวโนนธาตุ อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู เมื่อวันอังคารที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ ณ โบราณสถานปราสาทพนมวัน อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา