ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,823 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.45/12ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 46 หน้า ; 4.4 x 54.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 27 (267-281) ผูก 11หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เมื่อวันจันทร์ที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๙ นายจารึก วิไลแก้ว ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา ร่วมกับคณะเทศบาลตำบลเมืองที ลงพื้นที่ตรวจสอบโบราณสถาน และตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรง เพื่อหาแนวทางในการบูรณะโบราณสถานปราสาทเมืองที ตำบลเมืองที อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ชื่อผู้แต่ง : อาคม สายาคมชื่อเรื่อง : รวมงานนิพนธ์ของ นายอาคม สายาคมครั้งที่พิมพ์ : -สถานที่พิมพ์ : -สำนักพิมพ์ : -ปีที่พิมพ์ : ๒๕๒๕จำนวนหน้า : ๔๔๒ หน้าหมายเหตุ : กรมศิลปากรจัดพิมพ์ เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ นายอาคม สายาคม ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันพฤหัสบดีที่ ๙ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๕ ครูอาคม สายาคม ศิลปินผู้มีความสามารถในการแสดงโขน ละคร และมีผลงานด้านอื่นๆ ทำหน้าที่ครูครอบโขนละครให้แก่ศิลปินทั้งหลายในปัจจุบัน รวมทั้งเป็นผู้จัด
ชื่อเรื่อง : บทละครเรื่อง อิเหนา เล่ม 2
ชื่อผู้แต่ง : พุทธเลิศหล้านภาลัย, พระบาทสมเด็จพระ
ปีที่พิมพ์ : 2510
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา
จำนวนหน้า : 342 หน้า
สาระสังเขป : บทละครเรื่องอิเหนานี้ วรรณคดีสโมสรได้ตัดสินว่าเป็นยอดของบทละครรำเมื่อปีมะโรง พ.ศ. 2459 เพราะแต่งดีพร้อมทั้งความทั้งกลอนทั้งกระบวนที่จะเล่นละคร นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการศึกษาประเพณีไทยแต่โบราณขนบธรรมเนียมบ้านเมือง และอัธยาศัยคนในสมัยนั้นอีกด้วย บทละครเรื่อง อิเหนา เล่ม 2 เริ่มจากตอนปะตาระกาหลาลักรูปนางบุษบาไปจากช่างเขียน ศึกกะหมังกุหนิง อิเหนาหลงนางบุษบา จนถึงตอนอิเหนาชมถ้ำ
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์.เลือดสุพรรณ : ปลูกใจผู้หญิงไทยให้รักชาติและลุกรบ.ศิลปวัฒนธรรม.(37):11;กันยายน 2559.
ทำไมต้องเป็น เลือดสุพรรณ? ทำไมละครเพลงเรื่องแรกของหลวงวิจิตรวาทการจึงไม่เป็น เลือดอยุธยา? หรือ เลือดกรุงเทพฯ? หรือเลือดอุทัยธานีบ้านเกิด?
ทำไมละครเพลงเรื่องแรกจึงไม่เป็นเรื่องการต่อสู้ของชาวบ้านบางระจัน? ซึ่งมีเรื่องบันทึกในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาอยู่แล้ว
นี้เป็นสองคำถามเบื้องต้นเมื่ออ่านบทละครและชมการแสดงละครเวทีเรื่องนี้ที่มีเผยแพร่อยู่ใน Youtube จบลง ทั้งนี้เพราะเมื่อหลวงวิจิตรฯ ได้เป็นอธิบดีกรมศิลปากรคนแรกปี ๒๔๗๗ นั้น เรื่องราวการสงครามไทยกับพม่ามีมากมายที่บันทึกไว้ในพงศาวดาร ทั้งสมัยอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ คำถามเบื้องต้นนี้เราค่อยๆ มาขบคิดกันในท้ายบทกันอีกครั้งหนึ่ง.
กามนิต ดิเรกศิลป์. เมืองใหม่สมัย ร. 3 กับความสับสนของคนสมัยปัจจุบัน. จันท์ยิ้ม. (8) :20-21 ; พฤษภาคม. 2559.
ภายในเล่มเป็นการกล่าวถึงการศึกษาทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่ผ่านมา ว่าเมืองจันทบุรีก่อนประวัติศาสตร์ เมื่อ 6000 ปีที่ผ่านมา มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ที่อำเภอโปร่งน้ำร้อน อำเภอสอยดาว และอำเภอท่าใหม่ และเมื่อเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ก็มีการสร้างเมืองถึง 5 ยุคสมัย คือ สมัยที่ 1 กล่าวกันว่าคือเมืองเพนียด หลังจากนั้นคือเมืองหัววัว เมืองบ้านลุ่ม เมืองเนินวง และกลับไปเมืองบ้านลุ่มอีกครั้งเป็นสมัยที่ 5 ซึ่งก็คือเมืองจันทบุรีในปัจจุบัน "เมืองเนินวง" หรือที่เรียกกันติดปากว่า ค่ายเนินวงเป็นเมืองสมัยที่ 4 มีประวัติศาสตร์การตั้งเมืองว่า ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ศูนย์กลางเมืองจันทบุรีตั้งอยู่ที่บ้านลุ่ม ซึ่งก็คือตัวเมืองจันทบุรีในปัจจุบัน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ไทยได้เกิดสงครามกับญวน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่า เมืองบ้านลุ่มไม่เหมาะกับการตั้งทัพ เพราะอยู่ใกล้ปากแม่น้ำไม่ห่างจากทะเล ข้าศึกบุกประชิดเมืองได้ง่าย จึงโปรดเกล้าให้ย้ายเมืองไปตั้งที่แห่งใหม่ที่เนินวง ตำบลบางกะจะ เพราะเป็นที่ราบสูงสามารถมองเห็นข้าศึกได้ชัดเจน ...
พิธีเปิดโครงการให้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีแก่นักเรียนในท้องถิ่นโดย นายขจร มุกมีค่า ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาเป็นประธานในพิธีเปิดและ นายดุสิต ทุมมากรณ์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พิมายเป็นผู้กล่าวรายงานโครงการนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้ความเข้าใจทางด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี และคุณค่าความสำคัญของชุมชนในการบำรุงรักษาและบริหารจัดการท่องเที่ยวดำเนินโครงการโดยอุทยานประวัติศาสตร์พิมายวันศุกร์ที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ณ ห้องประชุมหินทราย เทศบาลตำบลพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
องค์ความรู้ เรื่อง พระพุทธรูปประทับยืน พบที่วัดสะพานหิน สุโขทัย จัดทำข้อมูลโดย : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง