ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,815 รายการ
รายงานการเดินทางไปราชการ ณ ประเทศ ญี่ปุ่น
๑. ชื่อโครงการ
โครงการ การประชุมเครือข่ายความร่วมมือทางวัฒนธรรมอาเซียน+๓ ( APTCCN)
ครั้งที่ ๔ ณ ประเทศญี่ปุ่น
๒. วัตถุประสงค์
- ๑. เพื่อติดตามความคืบหน้า ของการดำเนินงานโครงการต่างๆ ที่ได้รับการอนุมัติภายใต้แผนการดำเนินงานเสริมสร้างความร่วมมือทางวัฒนธรรมอาเซียน + ๓ ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ ( Work Plan on Enhancing ASEAN Plus Three Cooperation in Culture 2013 – 2017 ) และหารือความร่วมมือที่จะดำเนินการต่อไปภายใต้กรอบอาเซียน + ๓
- ๒. เข้าร่วมการสัมมนาหัวข้อ “ การรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ : การป้องกันและการบูรณะด้วยพลังของศิลปะและวัฒนธรรม “ ( Coping with Natural Disaster : Prevention and Reconstruction by the Power of Arts and Culture )”
- ๓. เข้าร่วมงานเทศกาล “ Water and Land Niigata Art Festival “ ครั้งที่ ๓ ณ Northern Culture Museum เมือง Niigata ซึ่งเป็นเมืองที่ได้รับเลือกเป็นหนึ่งในเมืองวัฒนธรรมแห่งเอเซียตะวันออก ( East Asian City of Culture ) เนื่องจากในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม APTCCN ครั้งที่ ๕ ดังนั้นในการประชุมครั้งนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนไทยจะได้รับแต่งตั้งให้ทำหน้าที่รองประธานการประชุม ( ตามแนวปฏิบัติของอาเซียน )
๓. กำหนดเวลา ระหว่างวันที่ ๙ กันยายน – ๑๑ กันยายน ๒๕๕๘
๔. สถานที่ Niigata city 340 km จากกรุงโตเกียว ใช้เวลาเดินทาง 4 ชั่วโมงครึ่งจาก สนามบินนาริตะ
- การประชุม The 4th APTCCN : International Conference Room,
Niigata Convention Center TOKI MESSE
6-1 Bandaijima, Chuo-ku, Niigata City 950-0078 Japan
- การสัมมนา โดย Agency for Cultural Affairs of Japan
Niigata – City Performing Arts Center RYUTOPIA
3-2 Ichibanboridori-cho,Chuo-ku,
Niigata City 951-8132 Japan
- Cultural Tour: Water and Land Niigata Arts Festival 2015, Northern Cultural Museum
๕. หน่วยงานผู้จัด Agency for Cultural Affair of Japan
๖. กิจกรรม ๙ กันยายน ๒๕๕๘
เดินทางจากประเทศไทยท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ( เที่ยวบิน TG 642 ) เวลา ๒๓:๕๐ น. ของค่ำวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๘
เดินทางถึง ท่าอากาศยาน นาริตะ กรุงโตเกียว เวลา ๐๘.๑๐ น. เช้าวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๘
เดินทางโดยรถไฟ จากท่าอากาศยานนาริตะไปยัง สถานที่จัดกการประชุม โรงแรม Nikko Niigata
๑๖:๐๐ น. การประชุมเพื่อเตรียมการประชุม ASEAN Secretariat and Host (Japan)
สถานที่ ห้อง Conference Room ๓๐๗ , Niigata Convention Center TOKI MESSE
๑๗:๓๐น. การประชุมเพื่อเตรียมการประชุม ASEAN Secretariat , Heads of Delegation and Hosts
สถานที่ ห้อง Conference Room ๓๐๗ , Niigata Convention Center TOKI MESSE
๑๙:๐๐น. งานเลี้ยงต้อนรับผู้เข้าร่วมทุกท่าน
สถานที่ ห้องจัดเลี้ยง Toki โรงแรม Nikko Niigata
๑๐ กันยายน ๒๕๕๘
๙:๐๐ น. การประชุมระดับทวิภาคี ระหว่าง Japan และ ประเทศต่างๆ
๑๒:๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓:๓๐ น. การประชุมใหญ่ Plenary Session
สถานที่ ห้อง International Conference Room,
Niigata Convention Center TOKI MESSE
๑๕:๐๐น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๕:๓๐ น. การประชุมใหญ่ ( ต่อ )
๑๗ :๐๐ น. จบการประชุมใหญ่
๑๘:๓๐ น. งานเลี้ยงรับรองโดย ผู้จัด Agency for Cultural Affair ,Japan
๑๑ กันยายน ๒๕๕๘
๘:๐๐ น. ออกเดินทางไปเข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนา
๙:๐๐ น. การสัมมนาหัวข้อ “ การรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ : การป้องกันและการบูรณะด้วยพลังของศิลปะและวัฒนธรรม “ ( Coping with Natural Disaster : Prevention and Reconstruction by the Power of Arts and Culture )”
สถานที่ โรงละคร Noh Theatre- City Performing Arts Center RYUTOPIA
๑๔:๓๐ น. Cultural Tour: Water and Land Niigata Arts Festival 2015, Northern Cultural Museum
๑๗:๐๐ น.จบการทัศนศึกษาทางวัฒนธรรม
๑๑ กันยายน ๒๕๕๘
เดินทางกลับประเทศไทย
ท่าอากาศยานนาริตะ( เที่ยวบิน TG 677 ) เวลา ๑๗:๒๕ น.
เดินทางถึง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เวลา ๒๑.๕๕ น.
๗ . คณะผู้แทน
๑. นางสาวดารุณี ธรรมโพธิ์ดล ทำหน้าที่ หัวหน้าคณะผู้แทนไทย
ผู้อำนวยการสำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
๒. นางสาวอุรุษยา อินทรสุขศรี
ผู้อำนวยการกลุ่มความร่วมมือพหุภาคี
สำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
๓. นายสุรยุทธ วิริยะดำรงค์
สถาปนิกชำนาญการ
ผู้แทนกรมศิลปากร
๙. สรุปสาระของกิจกรรม
๑. ในส่วนของการประชุม ASEAN PLUS THREE CULTURAL COOPERATION NETWORK ( APTCCN ) ที่ประชุมมีมติรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๓ ที่ประเทศ สิงคโปร์ เมื่อ วันที่ ๒๗ - ๒๘ สิหาคม ๒๕๕๗
ส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับกรมศิลปากรคือ วาระที่ ๕.๕ People to People Exhange
๕.๕.๑ ASEAN Plus Three people –to –people CULTURAL Exchange Programme : Workshop , Creation and Exhibition of Ceramic Arts
Proponent ผู้นำเสนอ : ประเทศไทย
งบประมาณ : Cost Sharing
โดยประเทศไทยเสนอจัดในปี ๒๕๕๘ รับผิดชอบโดยกระทรวงวัฒนธรรม
จะเชิญผู้ออกแบบผลงานเซรามิกจากประเทศอาเซียน และ + ๓ ประเทศละ ๒ ท่าน เข้าร่วมกิจกรรม ระยะเวลา ๒ อาทิตย์ ในกรุงเทพมหานคร , นครปฐม และ ราชบุรี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการสร้างสรรงานที่สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ร่วมกันสร้างผลงานและนำไปจัดนิทรรศการในท้ายของการปิดกิจกรรม
ทั้งนี้ในที่ประชุม ครั้งที่ ๔ ที่ Niigata ผู้แทนประเทศไทยได้แจ้งต่อที่ประชุมว่า กิจกรรมดังกล่าว จะขอเลื่อนการจัดออกไป อาจเป็นในปี ๒๕๕๙ ทั้งนี้ขอให้ติดตามการรายงานจากผู้แทนฝ่ายไทยเป็นทางการต่อไป
๒. ในส่วนการสัมมนา หัวข้อ “ การรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ : การป้องกันและการบูรณะด้วยพลังของศิลปะและวัฒนธรรม “ ( Coping with Natural Disaster : Prevention and Reconstruction by the Power of Arts and Culture )”
ทางผู้จัดได้นำเสนอประเด็นจากการที่ประเทศญี่ปุ่นประสบภัยพิบัติ จากแผ่นดินไหว และซึนามิ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๔
โดยมีวิทยากรสำคัญอาทิ
๑. Mr. Kitano Nobuhiko ( Head, Technical Standard Section ) จากสถาบันวิจัยมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติ ณ กรุงโตเกียว กรุณาบรรยายในหัวข้อ Project for rescuing cultural heritage damaged by the Great East Japan Earthquake
โดยมีเนื้อหาทั้งการเก็บกู้โบราณวัตถุในพิพิธภัณฑ์ที่ได้รับผลกระทบ การตรวจสอบโบราณสถาน และการร่วมกันวางแผนป้องกันและบรรเทาและสร้างเครือข่าย เพื่อลดผลกระทบความจากความเสี่ยง ซึ่งจะเกิดกับมรดกวัฒนธรรม
๒. “Cinema Yell Tohoku” โดย คุณ Yuko Iwasdaki ( secretariat, Japan Community Cinema Center. และ คุณ Kazunori Kushigeta ( Executive Director,Movie Co-op Miyako, Theater Manager,Cunemarine มีเนื้อหาคือการจัดฉายภาพยนต์ ในพื้นที่ประสบพิบัติภัย โดยได้รับการสนับสนุนจากอาสาสมัคร โรงภาพยนต์ในพื้นที่ และบริษัทผู้สร้างภาพยนตื เพื่อสร้างขวัญกำลังใจให้ผู้ประสบภัย
๓. “ Rikuzentakata Artist in Residence” โดย คุณ Junichi Hasegawa Director , Natsukashii Mirai Sozo Co.,Ltd. และ คุณ Teiko Hinuma Program Director, Rikuzentakata AIR program มีเนื้อหาคือกลุ่มธุรกิจท้องถิ่นร่วมกันอนุรักษ์เมืองของตน คือเมือง Rikuzentakata ใน มรฑล Iwate ศิลปินจากประเทศญี่ปุ่น และต่างประเทศรับเชิญมาเพื่อประสานงานกับศิลปินท้องถิ่น และศึกษาค้นคว้ามรดกวัฒนธรรมท้องถิ่นอาทิ การแสดงพื้นบ้าน ก่อนนำมาประยุกต์สร้างผลงานตามแต่ประสบการณ์ของศิลปินแต่ละท่านในขณะพักอาศัยอยู่ในเมืองนั้น
๔. “The Japan Foundation Asia Center “ โดยคุณ Koji Sato Director of General Affairs Section, The Japan Foundation Asia Center ได้บรรยายกิจกรรมต่างๆในชื่อโครงการ
“ HANDs! Hope and Dream Project! “เพื่อให้สมาชิกรุ่นใหม่จากประเทศกลุ่ม ASEAN “ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในเรื่องการป้องกันพิบัติภัยในประเทศของแต่ละคน
๕. “ IZA! KAERU CARAVAN!” โดยคุณ Hirokazu Nagata Chairperson ,Plus Arts NPO โดยมีชุดของกิจกรรมซึ่งเด็ก และครอบครัวสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันพิบัติภัย ผ่านกิจกรรมเกมต่างๆ โดยมีแนวคิดจาก กบ กิจกรรมนี้มิได้ดำเนินการพียงแต่ในประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น ยังริเริ่มในประเทศอื่นๆ เช่น อินโดนีเซีย , ประเทศไทย และ ฟิลิปปินส์ โดยมีการออกแบบกิจกรรมประยุกต์ให้เหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่นและตัวการ์ตูนต่างๆ
๖. “ Reviving the Tangible & Intangible Culture of Heritage Post Disaster: The Case of Kotagede Historical City, Togyakarta Indonesia” โดย ดร. Ikaputra Professor .Department of Architecture&Planning Faculty of Engineering, Gadjah Mada University มีเนื้อหาคือ กระตุ้นมาตรการป้องกัน ความเสียหายจากภัยพิบัติ ด้วยการนำศิลปะการออกแบบแฟชั่น ของประดับตกแต่งโดยความรู้ทางด้านสถาปัตยกรรมของท่าน มาสร้างเป็นรายได้กลับมาอนุรักษ์และพัฒนาท้องถิ่นโดยเฉพาะที่มีอาคารเรือนพื้นถิ่น ( old folk house )และประสบภัยพิบัติ เป็นการสร้างเสริมทางด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นด้วยการมีส่วนร่วมของช่างทำเครื่องเงิน
๑๐.ข้อเสนอแนะจากการเข้าร่วมกิจกรรม
๑.คณะทำงานของกรมศิลปากรที่มีกรอบหน้าที่ดูแลกิจการด้านอาเซียน และ อาเซียน+๓ ควรที่จะได้รับทราบข้อมูลของการประชุม APTCCN ครั้งที่ ๔ นี้
๒. คณะทำงานที่เตรียมการด้านการจัดกิจกรรมความร่วมมือ ควรที่จะได้มีการประสานงานกับทางผู้แทนประเทศไทย เพื่อที่จะได้ร่วมรับทราบนโยบายและแนวทางของการเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมที่จะมีในปี พ.ศ. ๒๕๕๙
๓. ในส่วนที่ทางเจ้าภาพ ประเทศญี่ปุ่น โดย Agency for Cultural Affairs เสนอแนวทางในการที่จะกระตุ้นให้ประเทศในกลุ่มอาเซียน และอาเซียน + ๓ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการจัดกิจกรรมความร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการป้องกันและบรรเทาพิบัติภัย โดยผ่านการสัมมนาที่ผู้จัดแนะนำผ่านกรณีศึกษาต่างๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมทางด้านศิลปกรรม และวัฒนธรรมต่างๆ ได้รับการตอบรับที่ดีจากผู้เข้าร่วมทุกประเทศ และควรที่จะได้มีการปรึกษาหารือเพื่อเฟ้นหาแนวทางที่จะเป็นประโยชน์ให้ชัดเจนยิ่งๆ ขึ้นต่อๆไป ทั้งนี้กรมศิลปากรซึ่งมีภาระหน้าที่ตามกฏหมายหลักคือ พ.ร.บ. โบราณสถานฯ จึงถือว่าเป็นหน่วยงานที่ควรจะเป็นหลักในการริเริ่มและวางแนวทางไปสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดำเนินการต่อไป
ผู้แต่ง : ฉลาด ไวอาษา, ร.ต.โรงพิมพ์ : ไทยแบบเรียนปีที่พิมพ์ : 2495ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.32บ.2142จบเลขหมู่ : 923.173 ฉ165ย
เลขทะเบียน : นพ.บ.20/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 24 หน้า ; 5 x 57 ซ.ม. : ชาดทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ไผ่ชื่อชุด : มัดที่ 11 (114-122) ผูก 5หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์ --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.44/7ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 46 หน้า ; 4 x 55 ซ.ม. : ทองทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 26 (254-266) ผูก 7หัวเรื่อง : มหานิปาตวณฺณนา --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง : ดำรงราชานุภาพ , สมเด็จฯ กรมพระยาชื่อเรื่อง : เรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆ ภาค ๓ เล่าเรื่องเที่ยวมณฑลเพชรบูรณ์ ความไข้เมืองเพชรบูรณ์ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่แปด , พิมพ์ครั้งที่ห้าสถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯสำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์วิศัลย์การพิมพ์ปีที่พิมพ์ : ๒๕๑๙จำนวนหน้า : ๑๕๐ หน้าหมายเหตุ : งานพระราชทานเพลิงศพ นายเสริมศักดิ์ สินเจิมสิริ ณ เมรุวัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร วันที่ ๑๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ หนังสือเรื่องเที่ยวที่ต่าง ๆ ภาค ๓ เล่าเรื่องเที่ยวเมืองมณฑลเพชรบูรณ์ นอกจากจะอ่านเพื่อความเพลิดเพลินแล้ว ยังนับว่าเป็นประโยชน์ในการศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีของท้องถิ่นนั้น ๆ เพราะจะช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบลักษณะสภาพบ้านเมืองความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนการอาชีพ และภูมิศาสตร์ของท้องถิ่นนั้นในอดีตได้เป็นอย่างดี ส่วนหนังสือเรื่องความไข้เมื่องเพชรบูณ์นั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงนิพนธ์หนังสือเรื่องนี้ขึ้นเมื่อครั้งเสด็จไปตรวจราชการ เนื่องจากมีกิตติศัพท์ในเรื่อง ไข้มาลาเรีย ทำให้ไม่มีข้าราชการคนใดอยากไปอยู่ พระองค์จึงเสด็จไปให้เป็นตัวอย่างแก่ข้าราชการทั้งหลาย
ชื่อเรื่อง : บทละครรามเกียรติ์
ชื่อผู้แต่ง : กรุงธนบุรี, สมเด็จพระเจ้า
ปีที่พิมพ์ : 2506
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา
จำนวนหน้า : 204 หน้า
สาระสังเขป : บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าตากสิน มีทั้งหมด 4 ตอนได้แก่ ตอนพระมงกุฎ ตอนเกี้ยววานริน จนท้าวมาลีวราชมา ตอนท้าวมาลีวราชพิพากษาความ จนทศกัณฐ์เข้าเมือง และตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด พระลักษมณ์ต้องหอกกบิลพัสดุ์ จนผูกผมทศกัณฐ์กับนางมณโฑ เนื้อหาส่วนต่อมาคือ "เล่าเรื่องหนังสือรามเกียรติ์" ของนายกี อยู่โพธิ์ ได้เปรียบเทียบสำนวนเรื่องรามเกียรติ์ในแต่ละช่วงเวลา ตั้งแต่รามเกียรติ์บทพากย์ครั้งกรุงเก่า จนถึงรามเกียรติ์บทละคร พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1
นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในสาระสำคัญต่าง ๆ และ
เพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ
เรื่องที่ 334 – 335 เนื้อหาเกี่ยวกับชาดก เรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก เเต่งโดยพระพุทธพจน์ เเละ พระพุทธโฆษาจารย์ ตามลำดับเรื่องที่ 336 เนื้อหาเกี่ยวกับพระไตรปิฎก หมวดขุททกนิกาย เเต่งโดยพระพุทธโฆษาจารย์เรื่องที่ 337 เนื้อหาเกี่ยวกับชาดก เรื่องกาลสังคหกุมารชาดก เรื่องที่ 338 เนื้อหาเกี่ยวกับชาดก เรื่องสุนนทราชชาดก พ่อคล้าย เป็นผู้สร้างเรื่องที่ 339 เนื้อหาเกี่ยวกับพระธรรมเทศนา เรื่องมตกภตฺตทานานิสํสกถา เเม่เฉ่ง เป็นผู้สร้าง เมื่อพ.ศ.2456 (ร.6)เรื่องที่ 340 เนื้อหาเกี่ยวกับพระธรรมเทศนา เรื่องอปฺปมาทธมฺมกถาเลขทะเบียน จบ.บ.334/1 จบ.บ.335/6:6ก จบ.บ.336/ 1จบ.บ.337/3 จบ.บ.338/1จบ.บ.339/1จบ.บ.340/1
นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
ในสาระสำคัญต่าง ๆ และเพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ
ชื่อเรื่อง : พระธาตุจอมกิตติ
ผู้แต่ง : นายประเสริฐ จิตรสกุล และคนอื่น ๆ
ปีที่พิมพ์ : 2531
สถานที่พิมพ์ : ม.ป.ท.
สำนักพิมพ์ : ม.ป.พ.
ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดเพชรบูรณ์
ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ปีที่พิมพ์ : 2543
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร
ชื่อเรื่อง : ดอกตุลิปดำและบางเรื่องจากสารานุกรมไทย
ผู้แต่ง : พระปฏิเวทย์วิศิษฎ์ (สาย เลขยานนท์)
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๑๓
สถานที่พิมพฺ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์โรงเรียนเนติศึกษา
หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระปฏิเวทย์วิศิษฎ์ (สาย เลขยานนท์) ท.ม. , ต.ช. ณ เมรุวัดธาตุทอง พระโขนง
เรื่อง The Black Tulip (ดอกตุลิปดำ) ของ อเลกซอง ดูมาส์ เป็นเรื่องที่มีส่วนเท้าความถึงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์อยู่บ้าง คือ เรื่องของพี่น้องสกุล เดอวิตต์ ในปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยุ่หัว ประเทศไทยเริ่มรับอิทธิพลวรรณกรรมของตะวันตก การแปลวรรณกรรมต่างประเทศเริ่มแพร่หลายเฉพาะเรื่อง " ดอกตุลิปดำ" ภาคภาษาไทยนี้ พระยาปฏิเวทย์วิศิษฎ์ ได้แปลขึ้นเมื่อง พ.ศ. ๒๔๖๑ โดยใช้นามปากกาว่า "สายัณห์" การแปลนั้นใข้วิธีแปลและเรียบเรียงเพื่อให้ถ้อยคำสำนวนอ่านเข้าใจง่าย