ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,813 รายการ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง วรรณกรรมพุทธศาสนา พุทธศาสนา—เทศนาประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 12 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534
เทวรูปพระอิศวรเมืองกำแพงเพชรหล่อด้วยสำริด ประทับยืนตรง หันฝ่าพระหัตถ์ทั้งสองข้างออกด้านนอก เหยียดนิ้วโป้ง นิ้วชี้ และนิ้วก้อยออก งอนิ้วกลางและนิ้วนาง มีชื่อเรียกว่า “กฏกมุทรา” หรือ “สิงหะกรรณะ” ซึ่งการแสดงพระหัตถ์ในลักษณะเช่นนี้เพื่อให้ผู้บูชาสามารถเสียบดอกไม้สดลงไปในช่องพระหัตถ์ได้ และยังเป็นท่าพระหัตถ์สำหรับการถือสิ่งของอีกด้วยจัดทำข้อมูล : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กำแพงเพชร
เลขทะเบียน : นพ.บ.12/6ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 5.5 x 56 ซ.ม. : รักทึบ-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากชื่อชุด : มัดที่ 8 (83-99) ผูก 6หัวเรื่อง : โลกนยชาตก--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง : ศิลปากร,กรม
ชื่อเรื่อง : เจ้านายและข้าราชการกราบบังคมทูลความเห็น จัดการเปลี่ยนแปลงราชการแผ่นดิน ร.ศ. ๑๐๓
และพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๒๖
ครั้งที่พิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ห้า
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : บริษัท จันวาณิชย์ จำกัด (โรงพิมพ์จันหว่าเดิม)
จำนวนหน้า : ๑๐๗ หน้า
หมายเหตุ : คุณหญิงทัศนาวลัย ศรีสงคราม พิมพ์ถวายเนื่องในงานฉลองพระชันษาครบ ๖๐ พรรษา ของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
เอกสารที่นำมาจัดเผยแพร่ในครั้งนี้ นับเป็นเอกสารสำคัญในด้านประวัติศาสตร์การปกครองของไทยเรื่องหนึ่ง เพราะจะช่วยให้เราผู้เป็นประชาชนได้ทราบว่า ความคิดริเริ่มที่จะมีการปกครองประเทศไทยตามระบอบประชาธิปไตยนั้น ได้มีขึ้นในเมืองไทยมาช้านานแล้ว นับตั้งแต่ ร.ศ. ๑๐๓ คือ พ.ศ. ๒๔๒๗ และที่สำคัญควรสนใจก็คือ ความคิดริเริ่มระบอบประชาธิปไตยนี้ ได้เกิดขึ้นจากบรรดาเจ้านายและขุนนาง และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นพระประมุข บริหารประเทศตั้งแต่สมัยยังคงใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เอกสารนี้จะช่วยให้เราทราบถึงสติปัญญาความคิดความเฉลียวฉลาดเฉียบแหลมของเจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่ของไทย ว่าได้ไฝ่ใจศึกษาสภาพเหตุการณ์บ้านเมือง และมีความรู้ความคิดทันเหตุการณ์อยู่เสมอ ความคิดริเริ่มที่ได้กราบบังคมทูลความเห็นจัดการเปลี่ยนแปลงระเบียบราชการแผ่นดินนี้ก็เป็นไปเพื่อประสงค์จะปรับปรุงให้บ้านเมืองเข้าสู่อารยธรรมทัดเทียมกับต่างประเทศทางยุโรป และถึงแม้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจะมิทรงสนองตอบโดยสมบูรณ์ตามความคิดเห็นที่เสนอ แต่ก็เห็นได้ว่าได้ทรงสนองตอบในประการสำคัญหลายประการในการที่ได้ทรงแก้ไขการปกครองแผ่นดินตามพระราชดำรัสทีทรงแถลงใน ร.ศ. ๑๐๓ นั้น
ธิรินทรนันทโรจนาพร.กิน ตาม ฤดู.จันท์ยิ้ม.(2):4;เมษายน-พฤษภาคม2560.
นอกจากสภาพภูมิอากาศ ร้อน ฝน หนาว ที่เราใช้ช่วงเวลา เป็นฤดูกาลแล้ว เมืองจันท์บ้านเรายังใช้ช่วงเวลาแห่งการออกดอกออกผล ของผลไม้เป็นชื่อฤดูกาลด้วย อย่างช่วงต้นฤดูร้อน เป็นช่วงที่มะม่วง ออกผลเยอะ เราก็จะเรียกว่าหน้ามะม่วง ในหน้ามะม่วงนี้เราจะได้กิน ข้าวเหนียวมะม่วงเป็นเมนูประจําฤดูร้อน ถัดจากหน้ามะม่วง ก็จะเข้าสู่ หน้าของราชาผลไม้-หน้าทุเรียน (หน้าอย่างเดียวนะ ไม่มีกาก เราไม่เน้น ความตะมุตะมิ แฮ่) อยู่ช่วงปลายฤดูร้อนต้นฤดูฝน ในช่วงนี้เราจะสังเกตเห็น ว่าตามท้องถนนนั้น จะเต็มไปด้วยรถกระบะที่บรรทุกผลทุเรียนเรียงไว้ เต็มคันวิ่งกันคึกคัก หรือผ่านไปตลาดเล็กตลาดน้อย รวมถึงสองข้างทาง เราจะเห็นผลไม้ลูกสีเขียวมีหนามและกลิ่นเฉพาะตัว ตั้งแผงเรียงราย คู่กันมังคุดราชินีแห่งผลไม้ที่ออกผลในเวลาไล่เลี่ย เอาไว้กินคู่กัน
ช่วงฤดูผลไม้ของจังหวัดจันทบุรี เป็นช่วงเวลาใน 1 ปี ที่หลายคน รอคอย ทั้งชาวสวนที่เป็นคนปลูก และคนกินที่พร้อมซื้อทั้งที่อยู่ใกล้และ อยู่ไกลในต่างจังหวัด และต่างประเทศ เราเชื่อว่าการได้กินอาหารประจํา ฤดูกาลเป็นความสีสันและเป็นความสุขอย่างหนึ่ง การรอคอยให้ถึงช่วงเวลา เฉพาะนั้น ๆ ทําให้อาหารมีความพิเศษ ซึ่งคุณผู้อ่านทราบไหมว่า นอกจากความฟินจากการกินที่เราได้รับแล้ว การกินอาหารเป็นฤดูกาล ยังช่วยรักษาทั้งสุขภาพของคนกินและสุขภาพของโลกด้วย
เพราะผักผลไม้ที่เติบโตตามฤดูกาลทางธรรมชาติและอยู่ในพื้นที่ ที่เหมาะสม จะเติบโตได้ดี เช่น ฤดูร้อน มีมะม่วงอกร่อง ฤดูฝนเป็นฤดู ของหน่อไม้ และผักริมรั้ว
นั่นหมายความว่าเกษตรกรไม่จําเป็นต้องใช้ปุ๋ย ใช้ยา จํานวนมาก เพื่อขุนและเป็นให้ผักผลไม้เหล่านั้นผลิดอกออกผลแม้ในสภาวะที่ไม่เหมาะสม เราไม่จําเป็นต้องพึ่งพาระบบอุตสาหกรรมอาหารที่ต้องใช้สารเคมีเพื่อถนอม แปรรูปและยืดอายุอาหารเพื่อให้เราได้มีกินแม้ในช่วงเวลาที่ไม่ใช่หน้าของมัน เราจะช่วยลดพลังงานจํานวนมากที่ใช้ในการขนส่งอาหาร หากเราหันมา รับประทานอาหารที่มีอยู่ในท้องถิ่น แทนอาหารที่ต้องเดินทางไกลจาก ต่างภาคหรือต่างประเทศให้มากขึ้น
จากตัวเลขทางสถิติของการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก ระบบผลิตอาหารบอกเราว่า กว่าร้อยละ 20 ของปริมาณก๊าซเรือนกระจก ทั้งหมดมาจากกระบวนการในการขนส่ง และอีกกว่าร้อยละ 25 มาจาก กระบวนการในการผลิตและแปรรูปอาหาร ตัวเลข 20 และ 25 นี้ ถ้าคิดเป็น ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จริง ๆ ก็อยู่ที่ราว ๆ 2.5% และ 3* พันล้านตัน ต่อปีเลยทีเดียว
ฉะนั้นแล้ว การกินอาหารเป็นฤดูกาล จึงเป็นอีกหนึ่งวิธีง่าย ๆ ที่ช่วยให้เราและโลกสุขภาพดีไปพร้อม ๆ กัน เรียกได้ว่าเป็น “การกิน ช่วยโลก” อย่างแท้จริง
นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในสาระสำคัญต่าง ๆ และ
เพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ
ชื่อเรื่อง : ไตรภูมิพระร่วง
ชื่อผู้แต่ง : ลิไทย, พระยา
ปีที่พิมพ์ : 2507
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : องค์การค้าของคุรุสภา
จำนวนหน้า : 348 หน้า
สาระสังเขป : หนังสือไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนา แสดงให้เห็นถึงประโยชน์เกี่ยวกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ตลอดจนชี้ให้เห็นถึงผลบาปและผลบุญที่คนทั้งหลายได้กระทำไว้ในชีวิต เนื้อหากล่าวถึง คติความเชื่อของชาวไทยในเรื่องพระพุทธศาสนา เช่น เรื่องสวรรค์ นรก การเวียนว่ายตายเกิด ทวีปทั้งสี่ วาระสุดท้ายของโลก เป็นต้น
THAI CULTURE, NEW SERIES No. 23
THE ROYAL PALACES
BY
H.H. Prince Dhaninivat, Kromamün Bidyalabh Bridhyākorn