ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,346 รายการ

เรื่อง บัว... ราชินีแห่งไม้น้ำ ผู้เรียบเรียง/จัดทำ : นางสาวกาญจนา ศรีเหรา (บรรณารักษ์)


ชื่อเรื่อง                    สพ.ส.69 ตำรายาแผนโบราณประเภทวัสดุ/มีเดีย       สมุดไทยขาวISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                  เวชศาสตร์ลักษณะวัสดุ              160; หน้า : ไม่มีภาพประกอบหัวเรื่อง                    ตำรายาแผนโบราณ                    ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก                   ประวัติวัดอู่ทอง ต.โคกคราม  อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี มอบให้หอสมุดฯ 


         พระพิมพ์ดินเผา (ภาพพระอรหันต์สาวก)          แบบศิลปะ : ทวารวดี          ชนิด :  ดินเผา          ขนาด : กว้าง 6.3 เซนติเมตร สูง 10.2 เซนติเมตร          อายุสมัย : ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 13 (หรือราว 1,300 - 1,400 ปีมาแล้ว)          ลักษณะ : พระพิมพ์ดินเผารูปพระสาวก เป็นรูปพระภิกษุนั่งขัดสมาธิราบในท่าสมาธิ ครองจีวรห่มเฉียงไม่มีรัศมี สิ่งสำคัญคือด้านหลังองค์พระพิมพ์ มีจารึก อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต อ่านได้ว่า สาริปุตโต ซึ่งเป็นชื่อพระอัครสาวกองค์สำคัญของ พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน          ประวัติ : ได้จากเจดีย์หมายเลข 11 อำเภออู่ทอง          สถานที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี   แสดงภาพวัตถุหมุน คลิกที่นี่ http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/uthong/360/model/04/   ที่มา: http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/uthong



หยุดอยู่บ้านวันอาทิตย์ เชิญ …มาอ่านผลงานของนางสาวสิริรัตน์ ทิพย์โชติ นักเรียนฝึกประสบการณ์ จากโรงเรียนสตรีราชินูทิศจังหวัดอุดรธานี


ปริวารปาลิ (ปริวารปาลิ)อย.บ.                       298/8หมวดหมู่                   พุทธศาสนาประเภทวัสดุ/มีเดีย       คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ               50 หน้า : กว้าง 4.7 ซม. ยาว 53.4 ซม. บทคัดย่อ          เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคจากวัดประดู่ทรงธรรม อำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา    



             กลุ่มอินเดียและเอเชียใต้ศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี India Studies Center Ubon Ratchathani University ศูนย์ศึกษาอินเดีย ม.อุบลฯ ร่วมกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ขอเชิญร่วมงาน “อุบลราชธานี คเณศจตุรถี บูชา” วันเสาร์ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๗ เวลา ๑๓.๓๐ น. เป็นต้นไป ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี โดยมีกิจกรรมสำคัญประกอบไปด้วย เชิญสักการะพระคเณศอายุนับพันปี สาธิตการสักการบูชาพระคเณศ กิจกรรมหล่อพระคเณศจากแม่พิมพ์เพื่อนำมาสักการบูชา และการเสวนา “อุบลราชธานี คเณศจตุรถี บูชา” ลงทะเบียนร่วมกิจกรรมได้ที่ https://forms.gle/MaFTawZ1MBue4GVr8              พระคเณศ หรือ พระพิฆเนศ นับเป็นเทพเจ้าแห่งความรู้ เป็นผู้มีปัญญาเป็นเลิศ ปราดเปรื่องในศิลปวิทยาทุกแขนง เป็นหัวหน้านำคณะข้ามความขัดข้อง (ผู้เป็นใหญ่เหนือความขัดข้อง) อีกทั้งเป็นเทพแห่งศิลปะทั้งมวล และเป็นเทพองค์สำคัญในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ที่ต้องบูชาก่อนเริ่มพิธีใดๆ เป็นการคารวะในฐานะบรมครูผู้ประสาทปัญญาและความสำเร็จ สามารถขจัดอุปสรรคทั้งปวงให้หมดสิ้นไป กิจการทุกอย่างจึงสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี


ชื่อเรื่อง                    คู่มือนำชมพิพิธภัณท์ลุ่มน้ำป่าสักผู้แต่ง                      ประทีป เพ็งตะโกประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือท้องถิ่นหมวดหมู่                   องค์การต่างๆ พิพิธภัณฑวิทยา เลขหมู่                      069.09593ป277คสถานที่พิมพ์               กรุงเทพฯสำนักพิมพ์                 สมาพันธ์  จำกัด ปีที่พิมพ์                    2551ลักษณะวัสดุ               132 หน้า หัวเรื่อง                     พิพิธภัณฑ ภาษา                       ไทย บทคัดย่อ/บันทึก   พิพิธภัณฑ์ลุ่มน้ำป่าสัก เป็นพิพิธภัณฑ์เฉพาะเรื่อง นำเสนอข้อมูลหลักฐานเฉพาะพื้นที่ที่ถูกน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อนป่าสักในทุกๆด้านมาจัดแสดงไว้ ได้แก่ ความเป็นมาของการชลประทานในประเทศไทย ย้อนรอยอารยธรรม วัฒนธรรมท้องถิ่น ภูมิศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเนื้อหาทั้งหมดที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ลุ่มน้ำป่าสัก  


ชื่อเรื่อง                     พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ผู้แต่ง                       สมลักษณ์ คำตรงประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือท้องถิ่นISBN/ISSN                 978-616-283-605-3หมวดหมู่                   พิพิธภัณฑวิทยาเลขหมู่                      069.0959372 ส277พสถานที่พิมพ์               กรุงเทพฯสำนักพิมพ์                 กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรมปีที่พิมพ์                    2564ลักษณะวัสดุ               164 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.หัวเรื่อง                     โบราณวัตถุ -- ไทย – ทำเนียบนาม                                                             นครปฐม – ประวัติศาสตร์ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึกประวัติของพิพิธภัณฑ์และผังการจัดแสดงนิทรรศการถาวร แนะนำสภาพภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ เรื่องราวในอดีตของนครปฐมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์และยุควัฒนธรรมทวารวดี เรื่องราวของศาสนาและความเชื่อของชุมชนสมัยทวารวดีจากหลักฐานโบราณวัตถุ เรื่องราวความเจริญรุ่งเรืองของนครปฐม หลักจากวัฒนธรรมทวารวดีเสื่อมลง จนถึงสมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มีภาคผนวกโบราณวัตถุสมัยทวารวดีสำคัญและจารึกโบราณ  


การแจ้งการชํารุด หักพัง เสียหาย สูญหาย หรือย้ายสถานที่เก็บรักษาโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุ ที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้ว



ชื่อเรื่อง :ครูบาและขนานหลวง ผู้แต่ง : ชมรมปักขทืนล้านนา เชียงใหม่ ปีที่พิมพ์ : 2551 สถานที่พิมพ์ : เชียงใหม่ สำนักพิมพ์ : สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่       ครูบา และหนานหลวง จัดทำหนังสือที่ระลึกในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแก้ไขปัญหาความสับสนในการคำนวณฟ้าตีแฉ่งเศษและวันเก้ากองแบบไทลื้อกับล้านนา ซึ่งจัดพิมพ์ขึ้นในวาระที่ครูบาประเสริฐ ปวโร วัดหนองปลามันเมืองพร้าว มีอายุครบ 32 ปี และวาระที่ขนานศรีเลา เกษพรหม มีอายุครบ 60 ปี โดยมีหนังสือมีเนื้อหาเกี่ยวกับประกันชีวิต เอกสารวิชาการ นิทาน คร่าว และธรรมะ ผู้แต่งหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่คนทุกเพศทุกวัย


ช่วงสายของวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ เรือหลวงศรีราชาได้แล่นเข้ามาใกล้กับเกาะราชาน้อยซึ่งเป็นที่หมายของเรา พร้อมเสียงผู้การเรือประกาศผ่านลำโพงแจ้งให้ทุกคนทราบ .... "เตรียมการจอดเรือ" ทันทีที่สิ้นเสียงประกาศนักดำน้ำสำรวจทุกคนได้เตรียมชุดดำน้ำ และวางแผนการทำงานขั้นสุดท้าย โดยแบ่งชุดสำรวจออกเป็น ๓ ชุดด้วยกัน ชุดแรกนั้นมุ่งไปที่การหาจุดที่พบวัตถุรูปทรงคล้ายปืนใหญ่โบราณพร้อมแบ่งคนไปสำรวจด้านทิศเหนือ ชุดที่สองนั้นมุ่งสำรวจไปทางทิศใต้ สำหรับชุดที่สามนั้นเป็นชุดสนับสนุนจากทัพเรือ เมื่อเข้าใจการทำงานกันอย่างดีแล้ว ชุดดำชุดที่หนึ่งทยอยไต่ลงจากท้ายเรือหลวงไปที่เรือยางที่ทางทัพเรือภาคที่ ๓ เตรียมมาสนับสนุน และแล่นไปตามคลื่นเข้าหาที่หมาย ในเวลาเพียงไม่นานทีมงานที่เหลือบนเรือก็เห็นทุ่นสัญญาณลอยขึ้นสู่ผิวน้ำ ซึ่งแน่นอนว่านั้นหมายถึงการพบวัตถุต้องสงสัยแล้ว เมื่อทราบดังนั้นชุดดำที่เหลือจึงไม่รอช้าปืนลงเรือยางเพื่อเข้าสู่ที่หมายเป็นลำดับต่อไป สภาพแรกที่เห็นคือแท่นขนาดใหญ่ลักษณะเป็นที่เหลี่ยมคางหมู มีขนาดประมาณ ๑๒๐ x ๙๐ เซนติเมตร สูงไม่ต่ำกว่า ๗๐ เซนติเมตรจม ถัดมาเป็นวัตถุรูปทรงคล้ายปืนใหญ่จมอยู่ใต้ผิวทรายกว่าครึ่ง พื้นผิวภายนอกมีสนิมปกคลุม เบื้องต้นจึงจึงวิธีการเปิดพื้นผิวที่ปกคลุมวัตถุด้วยการโบกด้วยมือ (Hand Fan) เพื่อให้เห็นสภาพโดยรวมของวัตถุทั้งหมด ซึ่งมีขนาดความยาวประมาณ ๑ เมตร กว้างประมาณ ๒๐ เซนติเมตร เมื่อเห็นลักษณะรูปทรงทั้งหมดแล้วทีมงานกลับพบกับความแปลกใจเมื่อพบว่าวัตถุคล้ายปืนใหญ่นั้นถูกเชื่อมติดกันกับแท่นโลหะด้วยเหล็กฉาก ซึ่งหากเป็นปืนใหญ่โบราณจริงไม่ควรเป็นแบบนั้น ไม่เพียงเท่านี้ขนาดโดยรวมของปืนใหญ่ยังดูไม่สมมาตรเนื่องจากปากกระบอกปืนนั้นมีขนาดพอๆกันกับท้ายกระบอกปืน อีกทั้งรูที่สันนิษฐานว่าเป็นรูใส่กระสุนปืนยังมีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับตัวกระบอกปืน นั่นทำให้ตัวปืนมีความบางเกินกว่าที่จะเป็นปืนใหญ่ จากข้อสังเกตุดังกล่าวทำให้สรุปว่าวัตถุดังกล่าวนั้นเป็นท่อเหล็กที่ปลายด้านหนึ่งบานออกคล้ายปากกระบอกปืน ส่วนที่ท้ายปืนมีปุ่มยืนออกมาคล้ายกับท้ายปืนใหญ่ เมื่อถูกปกคลุมด้วยสนิมจึงมีลักษณะคล้ายคลึงกับปืนใหญ่โบราณ เมื่อสรุปได้ดังนั้น ทางทีมงานตัดสินใจที่จะนำท่อเหล็กดังกล่าวขึ้นเพื่อนำเก็บบันทึกและมาตรวจสอบต่อไป


พลอากาศตรีอาวุธ เงินชูกลิ่น และคณะช่างจากสำนักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ได้ร่วมกันกำหนดรูปแบบการจัดภูมิทัศน์รอบพระเมรุ ให้จำลองป่าหิมพานต์ที่ตั้งอยู่เชิงเขาพระสุเมรุ ประกอบด้วยเขามอ ต้นไม้ รวมทั้งให้มีเหล่าสัตว์หิมพานต์นานาชนิดอาศัยอยู่ตามที่กล่าวไว้ในต้านาน ในครั้งนี้ กรมศิลปากรได้เชิญกลุ่มช่างปั้นปูนสดจากจังหวัดเพชรบุรี มาออกแบบและปั้นสัตว์หิมพานต์ทั้งหมดกว่า ๘๐ ชนิด จำนวนประมาณ ๑๖๐ ตัว และให้สำนักช่างสิบหมู่ด้าเนินการลงสีบนตัวสัตว์หิมพานต์...พลอากาศตรีอาวุธ เงินชูกลิ่น และคณะช่างจากสำนักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ได้ร่วมกันกำหนดรูปแบบการจัดภูมิทัศน์รอบพระเมรุ ให้จำลองป่าหิมพานต์ที่ตั้งอยู่เชิงเขาพระสุเมรุ ประกอบด้วยเขามอ ต้นไม้ รวมทั้งให้มีเหล่าสัตว์หิมพานต์นานาชนิดอาศัยอยู่ตามที่กล่าวไว้ในต้านาน ในครั้งนี้ กรมศิลปากรได้เชิญกลุ่มช่างปั้นปูนสดจากจังหวัดเพชรบุรี มาออกแบบและปั้นสัตว์หิมพานต์ทั้งหมดกว่า ๘๐ ชนิด จำนวนประมาณ ๑๖๐ ตัว และให้สำนักช่างสิบหมู่ด้าเนินการลงสีบนตัวสัตว์หิมพานต์...


Messenger