ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,347 รายการ
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 57/6ประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 28 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
เนื่องในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๖๖ กรมศิลปากร ได้ร่วมจัดกิจกรรม "ส่งสุขวิถีใหม่ สืบสานวิถีไทย ปลอดภัยสร้างสรรค์" ณ แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่ให้กับประชาชน โดยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั่วประเทศได้อัญเชิญพระพุทธรูปสำคัญออกให้พุทธศาสนิกชนได้สักการะเพื่อความป็นสิริมงคล
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฏฺฐาน) อย.บ. 62/1ประเภทวัดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 20 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม.หัวเรื่อง พุทธศาสนาบทคัดย่อ/บันทึก เป็นคัมภีร์ใบลาน เส้นจาร ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา ได้รับบริจาคมาจาก จ.พระนครศรีอยุธยา
สตฺตปฺปกรณาภิธมฺม (สงฺคิณี-มหาปฎฺฐาน) ชบ.บ 152/2 เอกสารโบราณ(คัมภีร์ใบลาน)
หนังสือที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพแม่ถ้วน หลีกภัย มารดา ฯพณฯ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20
ชื่อเรื่อง โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 และสุภาษิตพระร่วงผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือหายากหมวดหมู่ ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยาเลขหมู่ 398.9 จ657คสสถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์พระจันทร์ปีที่พิมพ์ 2508ลักษณะวัสดุ 84 หน้าหัวเรื่อง หนังสืออนุสรณ์งานศพ สุภาษิตและคำพังเพยภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึก“โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5” ประกอบด้วยบทพระราชนิพนธ์ที่เป็นภาษิตคำสอน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ตั้งแต่ พ.ศ.2420 ในโอกาส เวลา และสถานที่ต่างๆ กัน รวม 11 ตอน เนื้อหาตอนที่ 1 ถึงตอนที่ 10 ได้ต้นฉบับจากหนังสือ ประชุมโคลงสุภาษิตในรัชกาลที่ 5 และพระบรมราชาธิบายเรื่องสามัคคี “เรื่องสุภาษิตพระร่วง” เรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่า บัญญัติพระร่วง ฉบับที่พิมพ์ในหนังสือเล่มนี้คัดมาจากหนังสือวรรณกรรมสมัยสุโขทัย เป็นวรรณกรรมประเภทร่าย ส่วนตอนท้ายจบลงด้วยโคลงกระทู้ 1 บท ประกอบด้วยภาษิตและคำสอนที่มีคุณค่าและเป็นความจริงอยู่ทุกยุคทุกสมัย
21 มีนาคม 2566 “วันวสันตวิษุวัต” เวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน รวมถึงเป็นวันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิในซีกโลกเหนือ“วสันตวิษุวัต” (วะ-สัน-ตะ-วิ-สุ-วัด) (Vernal Equinox) ช่วงเวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน คำว่า “วิษุวัต” (Equinox) เป็นภาษาสันสกฤตหมายถึง “จุดราตรีเสมอภาค” จุดที่ดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตรของโลกพอดี ส่งผลให้เป็นวันที่มีเวลากลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน วันดังกล่าวเกิดขึ้นเพียง 2 ครั้งต่อปี คือช่วงเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิของซีกโลกเหนือ เรียกว่า วันวสันตวิษุวัต (Vernal Equinox) และช่วงเริ่มต้นฤดูใบไม้ร่วงของซีกโลกเหนือ เรียกว่า วันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox)ในภาษาจีน คือ ชุนเฟิน 春分 chūnfēn ภาษาญี่ปุ่น คือ ชุนบุน しゅんぶん, shunbun และเกาหลีใต้ 춘분, chunbunแต่ละวันดวงอาทิตย์จะปรากฏในตำแหน่งต่างกัน เปลี่ยนตำแหน่งไปประมาณวันละ 1 องศา ตั้งแต่เดือนธันวาคมเป็นต้นมา ดวงอาทิตย์ค่อย ๆ เคลื่อนจากจุดใต้สุดขึ้นมาทางเหนือ เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่อนมา ณ ตำแหน่งตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตรของโลก ดวงอาทิตย์จะขึ้นจากขอบฟ้าทางทิศตะวันออกและตกลับขอบฟ้าทางทิศตะวันตกพอดี สำหรับประเทศไทย วันดังกล่าวดวงอาทิตย์ขึ้น เวลาประมาณ 06:21 น. และตกลับขอบฟ้า เวลาประมาณ 18:28 น. (เวลา ณ กรุงเทพมหานคร) นับเป็นวันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิของประเทศทางซีกโลกเหนือและเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วงของประเทศทางซีกโลกใต้ฤดูกาลเกิดจากแกนโลกเอียงทำมุม 23.5 องศา กับแนวตั้งฉากกับระนาบโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ทำให้พื้นที่ต่าง ๆ ทั่วโลกได้รับแสงอาทิตย์ในปริมาณไม่เท่ากัน ส่งผลให้มีอุณภูมิต่างกัน รวมถึงระยะเวลากลางวันและกลางคืนก็ต่างกันด้วย เหตุนี้ทำให้เกิดฤดูกาลขึ้นบนโลกนั่นเอง จะสังเกตได้ว่าในฤดูร้อนเวลากลางวันจะยาวกว่ากลางคืน ดวงอาทิตย์จะขึ้นเร็วและตกช้า แตกต่างกับฤดูหนาวเวลากลางคืนจะยาวนานกว่ากลางวัน ดวงอาทิตย์จะขึ้นช้าและตกเร็วปรากฏการณ์ต่อไปที่เกี่ยวข้องกับการขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ คือ “วันครีษมายัน” (Summer Solstice) ในวันที่ 21 มิถุนายน 2566 เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางเหนือมากที่สุด ส่งผลให้ช่วงเวลากลางวันยาวที่สุดในรอบปี สำหรับประเทศทางซีกโลกเหนือ นับเป็นวันที่ย่างเข้าสู่ฤดูร้อน ส่วนประเทศทางซีกโลกใต้ นับเป็นวันที่ย่างเข้าสู่ฤดูหนาวซุ้มลีลาวดี หรืออุโมงค์ต้นลีลาววดี ด้านหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน กำลังเริ่มผลิใบ ออกดอก หลังจากในฤดูหนาวได้ทิ้งใบเหลือเพียงกิ่งก้าน เป็นสัญญาณของการเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ที่กำลังมาถึงเอกสารอ้างอิงสงกรานต์ 3 วัน 13-15 เม.ย.เริ่มมีเมื่อใด ปีใหม่ไทยในอดีตเปลี่ยนไปมา ชาวบ้านตามตรวจดูวันเอง เข้าถึงได้โดย https://www.silpa-mag.com/history/article_31026NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เข้าถึงได้โดย https://www.facebook.com/photo?fbid=584756840361529&set=a.304334558403760ว่าด้วยเรื่องของภาษา https://www.facebook.com/.../a.54837983.../5830437897068363/
เลขทะเบียน : นพ.บ.412/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 52 หน้า ; 4 x 53 ซ.ม. : ชาดทึบ-ล่องรัก ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 147 (71-80) ผูก 3 (2566)หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.544/4ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 42 หน้า ; 4 x 52 ซ.ม. : ลานดิบ-ล่องรัก-รักทึบ-ล่องชาด ; ไม่มีไม้ประกับชื่อชุด : มัดที่ 181 (303-310) ผูก 1 (2566)หัวเรื่อง : ลำมูลนิพพาน--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อเรื่อง : ชีวิตมันสมองและการต่อสู้ของหลวงวิจิตรวาทการ ชื่อผู้แต่ง : พิมาน แจ่มจรัสปีที่พิมพ์ : 2505 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : ผ่านฟ้าพิทยาจำนวนหน้า : 1,012 หน้า สาระสังเขป : ชีวิตมันสมองและการต่อสู้ของหลวงวิจิตรวาทการ เป็นหนังสือชีวประวัติของหลวงวิจิตรวาทการรัฐบุรุษคนสำคัญของประเทศไทย ชื่อหนังสือ มีที่มาจากหนังสือเรื่อง “มรสุมชีวิต” และ “มันสมอง” ของหลวงวิจิตรวาทการ หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหา 8 บทประกอบด้วย ความรักอันใด จิตตานุภาพ วิธีทำงานและสร้างอนาคต ทางสู้ในชีวิต มันสมอง กำลังใจ วิชา 8 ประการ และวิชาครองเรือนและครองรัก มีบทเสริม 4 บท ประกอบด้วย เรื่องจิตวิทยาทางการเมือง โลกพูด-วิญญาณฟัง จากชีวิตถึงวิญญาณ และบทส่งท้ายมหาบุรุษ