ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,440 รายการ
ชื่อผู้แต่ง พุทธทาสภิกขุและหลวงวิจิตรวาทการ
ชื่อเรื่อง ทำบุญสามแบบและการมองสิ่งทั้งปวงในด้านในและจิตตานุภาพ
ครั้งที่พิมพ์ -
สถานที่พิมพ์ พระนคร
สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์รวมมิตรไทย
ปีที่พิมพ์ 2513 จำนวนหน้า 142 หน้า หมายเหตุ อนุสรณ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.ร.ว. ทองเพิ่ม ทองแถม
หนังสือที่ระลึกงานศพเล่มนี้ประกอบด้วยเรื่องทำบุญสามแบบและการมองสิ่งทั้งปวงในด้านในของท่านพุทธทาสภิกขุกับเรื่องจิตตานุภาพของหลวงวิจิตรวาทการ
สาระสังเขป : ประวัติของตระกูล 3 ตระกูล คือ 1) ตระกูลฤทธาคนีนัน พระมงกุฎเกล้าฯ พระราชทานนายร้อยตรีแฉล้ม มหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ 2) ตระกูลสาลีเล็กนัน พระมงกุฎเกล้าฯ พระราชทานขุนราชพรหมา (หรุ่ม) แพทย์พระโอสถต้น 3) ตระกูลพิทักษ์สาลี นายฟุ้งคิดขั้นผู้แต่ง : ฟุ้ง ฤทธาคนีโรงพิมพ์ : ทหารอากาศปีที่พิมพ์ : 2502ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น. 32 บ. 2409 จบ (ร)เลขหมู่ : 929.7999593 ฟ 514 ป
เลขทะเบียน : นพ.บ.26/15ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 4.5 x 54 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากไม้ชื่อชุด : มัดที่ 13 (138-151) ผูก 14หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.46/10ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 62 หน้า ; 4.6 x 51.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 28 (282-294) ผูก 10หัวเรื่อง : ธรรมบท --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในสาระสำคัญต่าง ๆ และ
เพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ
พิธีถวายเครื่องราชสักการะ จุดเทียนถวายพระพรชัยและถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ณ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย
ชื่อเรื่อง : พระอภัยมณี (ตอนที่ 31-35)
ชื่อผู้แต่ง : สุนทรโวหาร (ภู่), พระ
ปีที่พิมพ์ : 2509
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์เลี่ยงเซียงจงเจริญ
จำนวนหน้า : 206 หน้า
สาระสังเขป : พระอภัยมณี เป็นวรรณคดีที่ทรงคุณค่าเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอน หนังสือเรื่องพระอภัยมณีเล่มนี้ เป็นคำกลอนที่คัดมาเฉพาะตอนที่ 31-35 มีเนื้อหาประกอบด้วย ตอน พระอภัยมณีพบนางละเวง ตอน ศรีสุวรรณอาสาตีด่านดงตาล ตอน ย่องตอดสะกดทัพ ตอน นางละเวงคิดหย่าทัพ และตอน พระอภัยมณีติดท้ายรถ บทกลอนดังกล่าวมีสำนวนภาษาที่ไพเราะ มีคติสอนใจ และมีคุณค่าทางวรรณคดีอย่างยิ่ง ในส่วนท้ายเล่มได้ตีพิมพ์เรื่องสมบัติกวี ของศุภร บุนนาค โดยคัดมาเฉพาะบางตอนนำมาตีพิมพ์ไว้ในเล่มเดียวกัน
ชื่อเรื่อง ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61พิมพ์ครั้งที่ 3ผู้แต่ง -ประเภทวัสดุ/มีเดีย หนังสือหายากหมวดหมู่ ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชียเลขหมู่ 959.3 ป247รสถานที่พิมพ์ พระนครสำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ชวนพิมพ์ปีที่พิมพ์ 2516ลักษณะวัสดุ 250 หน้า หัวเรื่อง ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- สมัยแรกเริ่มก่อน พ.ศ.1800ภาษา ไทยบทคัดย่อ/บันทึกประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 พิมพ์เป็นอนุสรณ์ ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ณ เมรุวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 12 มกราคม พุทธศักราช 2516
การปฏิบัติงานภาคสนามโครงการสำรวจขึ้นทะเบียนโบราณสถานของสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๗ณ ปราสาทเบ็ง อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์โดยนายประพันธ์ เนื่องมัจฉา นายช่างสำรวจชำนาญงาน และคณะ
ชื่อเรื่อง : มรดกศิลป์แผ่นดินไทย = The Artistic Heritage of Thailand
ผู้เขียน : กรมศิลปากร
สำนักพิมพ์ : รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977)
ปีพิมพ์ : 2562
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ : 978-616-283-461-5
เลขเรียกหนังสือ : 709.593 ศ528ม
ประเภทหนังสือ : หนังสือกรมศิลปากร
ห้องบริการ : ห้องหนังสือทั่วไป 1
สาระสังเขป : ราชอาณาจักรสยามหรือประเทศไทย เป็นดินแดนที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองสืบทอดยาวนานจากอดีตจวบจนปัจจุบัน ปรากฎหลักฐานมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ผู้คนในหลายพื้นที่ของแผ่นดินไทยอาศัยรวมเป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่ขึ้นตามกาลเวลา มีการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ การตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัย การประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน การทำเครื่องนุ่งห่ม การค้าขาย รวมทั้งยังมีการสร้างสรรค์งานด้านศิลปวัฒนธรรมแขนงต่างๆ เช่น จิตรกรรม สถาปัตยกรรม ภาษา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของชาติที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง "มรดกศิลป์แผ่นดินไทย = The Artistic Heritage of Thailand" เป็นการรวบรวมเกี่ยวกับงานศิลปวัฒนธรรมอันเป็นมรดกที่ ทรงคุณค่าของชาติหลากหลายสาขา อาทิ ด้านโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เอกสารโบราณ วิจิตรศิลป์ ประณีตศิลป์ เป็นต้น เพื่อเผยแพร่เป็นองค์ความรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง โดยนำศิลปะโบราณวัตถุที่สำคัญในแต่ละยุคสมัยมานำเสนอรายละเอียดพร้อมภาพประกอบสีที่สวยงาม เริ่มตั้งแต่ยุคปัจจุบันย้อนอดีตไปจนถึงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย รัตนโกสินทร์ อยุธยา ล้านนาและหริภุญชัย สุโขทัย ลพบุรีและศิลปะเขมรในประเทศไทย ศรีวิชัยและศิลปกรรมบนคาบสมุทรภาคใต้ ทวาราวดี และก่อนประวัติศาสตร์ ทั้งพระพุทธรูปต่างๆ เครื่องทอง โลหะสำริด ลูกปัดหินสี ภาชนะดินเผา และอื่นๆ ซึ่งล้วนเป็นสิ่งมีคุณค่าและสำคัญยิ่งของชาติ เพื่อแสดงพัฒนาการทางความคิด และภูมิปัญญาของบรรพชนในแต่ละยุคสมัย เช่น ภาชนะดินเผาสามขา วัฒนธรรมบ้านเก่า (ประมาณ 3,700 - 4,000 ปีมาแล้ว) ปราสาทหินพนมรุ้ง (ประมาณพุทธศตรวรรษที่ 12-14) จิตรกรรมที่ผนังวิหารวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน (ประมาณพุทธศตรวรรษที่ 25) พระมหาพิชัยมงกุฎ ศิลปะรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24) พานพระศรีทองคำลงยาพร้อมเครื่อง (พุทธศตรวรรษที่ 24) ฉากไม้ประดับมุก รูปพระพุทธรูปและรูปอัครสาวก (พุทธศตรวรรษที่ 24) จิตรกรรมฝาผนังรูปพระสาวก กรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศิลปะอยุธยา (พ.ศ. 1967) หงส์ทองคำ (พ.ศ. 1967) พระพุทธรูปปางมารวิชัย (แบบอู่ทอง 2 พุทธศตรวรรษที่ 18-19) เศียรพระพุทธรูปทรงเครื่อง (อยุธยาตอนกลาง พุทธศตวรรษที่ 21-22) บัลลังก์จำลอง ศิลปะล้านนา (พุทธศตวรรษที่ 22) หงส์สำริด (พุทธศตรวรรษที่ 21) พระสาวกดินเผา ศิลปะหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ 17-18) พระหริหระ ศิลปะสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20) ศิลาจารึกหลักที่ 1 สุโขทัย (พุทธศตรวรรษที่ 19) มกรสังคโลก (พุทธศตวรรษที่ 19-20) เต้าปูน (พุทธศตรวรรษที่ 20) ทับหลัง แบบถาลาบริวัติ ศิลปะเขมรในประเทศไทย (พุทธศตวรรษที่ 12) สถูปจำลองประดับพระพุทธรูปที่ฐาน (สมัยบายน พุทธศตรวรรษที่ 18) เศียรพระพุทธรูปปางนาคปรก ศิลปะลพบุรี (กลางพุทธศตวรรษที่ 18-19) พระนารายณ์สี่กร ศิลปะศรีวิชัย (พุทธศตรวรรษที่ 12) พระพิมพ์ดินดิบ (พุทธศตวรรษที่ 14-15) แผ่นหินชนวนจำหลักรูปพระพุทธรูปปางสมาธิขนาบด้วยธรรมจักรและสถูป ศิลปทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 13-15) ธรรมจักร (พุทธศตวรรษที่ 13) ใบเสมาสลักภาพพระพุทธเจ้าเสด็จกลับกรุงกบิลพัสดุ์ (พุทธศตวรรษที่ 13-14) กระดิ่งสำริด ยุคก่อนประวัติศาสตร์ (อายุราว 1,800-2,300 ปีมาแล้ว) ภาชนะลายเชือกทาบวัฒนธรรมบ้านเชียง (อายุประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว) ลูกกลิ้งดินเผา (อายุประมาณ 1,800-2,300 ปีมาแล้ว) เป็นต้น ด้วยมุ่งหวังให้ประชาชนตระหนักรู้ ร่วมกันหวงแหนและภาคภูมิใจในมรดกศิลป์ของชาติไทยให้อยู่คู่แผ่นดินไทยอย่างมั่นคงและยั่งยืน