ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,768 รายการ
หมวดหมู่ พุทธศาสนาภาษา บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง พระไตรปิฎก ผีเปรตประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ 22 หน้า : กว้าง 5.5 ซม. ยาว 55 ซม. บทคัดย่อ
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534
สาระสังเขป : หนังสือรวมเรื่องวิชาการโรงพยาบาลหญิงและเด็ก เล่มที่ 3 พ.ศ.2511-12 เช่น เรื่อง การตรวจสอบการทำหน้าที่ของตับในโรคตับอักเสบติดเชื้อ เป็นต้นผู้แต่ง : โรงพยาบาลราชวิถีโรงพิมพ์ : ไทยเขษมปีที่พิมพ์ : 2512 ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.190457เลขหมู่ : 610.8 ร426ร ล.3
สาระสังเขป : รวมชีวประวัติสังเขปของสตรีที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ ได้แก่ คลีโอพัตรา, มาดามคูรี่, ซูแซน บี แอนโธนี, ท่านผู้หญิงโกดิวา, โจนออฟอาร์ค, ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล, ธีโอโดรา, เอลิซาเบธ บาเรตต์ เบราว์นิง, แมรี่ ราชินีสกอตส์, มาดามเจียไคเชค, พระราชินีคริสตินา, พระราชินีวิกตอเรีย คัธรีน, พระนางมารี อังตัวเนตต์, เฮเลน เคลเลอร์, คลารา บาตัน, คัธริน เบรสคอฟสกีและพระราชินีเอลิซาเบธผู้แต่ง : แส สิริสิงห อัตถากรโรงพิมพ์ : อักษรโสภณปีที่พิมพ์ : 2492ภาษา : ไทยรูปแบบ : PDFเลขทะเบียน : น.33บ2293จบเลขหมู่ : 920.72 ส953ส
เลขทะเบียน : นพ.บ.12/13ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 64 หน้า ; 5.5 x 56 ซ.ม. : รักทึบ-ลานดิบ ; ไม้ประกับธรรมดา มีฉลากชื่อชุด : มัดที่ 8 (83-99) ผูก 13หัวเรื่อง : โลกนยชาตก--เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
เลขทะเบียน : นพ.บ.43/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 54 หน้า ; 4.5 x 53.5 ซ.ม. : ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 25 (244-253) ผูก 3หัวเรื่อง : อรรถกถาบาลี --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง วงศาธิราชสนิท,กรมหลวงและปวเรศวริยาลงกรณ์,สมเด็จฯกรมพระยา
ชื่อเรื่อง ตำราสรรพคุณยาและตำรายาพิเศษ
ครั้งที่พิมพ์
สถานที่พิมพ์ กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ อมรินทร์การพิมพ์
ปีที่พิมพ์ 2527
จำนวนหน้า 55 หน้า
หมายเหตุ พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชเพลิงศพ นางศรีภักดี (อุบล วสุวิต )
ตำราสรรพคุณยาของกรมหลวงวงศาธิราชสนิท อดีตอธิบดีแพทย์ในสมัย ร.๓-ร.๔ แพทยาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในการแพทย์ไทยพระพันธ์เป็นบทร้อยแก้วกล่าวถึงสรรพคุณของสมุนไพร 166 ชนิด ส่วนตำราพิเศษของสมเด็จฯกรมพระยาปวเรศ วริยาลงกรณ์ ประพันธ์เป็นบทร้อยกรอง
โครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ มรดกศิลปวัฒนธรรม นครรชัยบุรินทร์ : ปรางค์ครบุรี ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ บริเวณโบราณสถานปรางค์ครบุรี และโรงเรียนบ้านครบุรี(นครธรรมโฆษิต) ตำบลครบุรีใต้ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา รับผิดชอบโครงการโดย หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา พร้อมด้วยหน่วยงานในสังกัดสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวนี้ด้วย
กองบรรณาธิการ.พระบาทพลวง หรือ พระพุทธบาทพลวง แรงศรัทธาหลั่งไหลสู่เขาพระบาท.จันท์ยิ้ม.(3):1;ตุลาคม-พฤศจิกายน 2560(25).
พระบาทพลวง หรือ พระพุทธบาทพลวง ประดิษฐานอยู่บน เขาคิชฌกูฏ โดยพระบาทพลวงนี้ เป็นรอยพระพุทธบาทขนาดใหญ่ กว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร อยู่บนยอดเขาสูงจากระดับน้ำทะเล 1,000 เมตร ที่จังหวัดจันทบุรี และถือว่าเป็นรอยพระพุทธบาทที่สูงที่สุดของประเทศไทย และอยู่ห่างจากตัวเมืองจันทบุรีประมาณ 40 กิโลเมตร
ทั้งนี้ประชาชนจะนิยมไปนมัสการพระบาทหลวงเป็นจํานวนมาก เพื่อเสริมสิริมงคลให้กับตัวเอง โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลตรุษจีนถึง ช่วงวันมาฆบูชาของทุกปี จะมีประชาชนขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาท ทั้งกลางวันและกลางคืน ขณะที่ทางเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของเขาคิชฌกูฏ ก็ได้จัดงานนมัสการพระบาทพลวงเป็นประจําทุกปีอีกด้วย
ซึ่งในช่วงเทศกาลนมัสการรอยพระพุทธบาทพลวง พุทธศาสนิกชน ที่มีศรัทธาจะเดินทางขึ้นเขาไปแสวงบุญเป็นจํานวนมาก เพราะนอกจาก จะได้นมัสการพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์แล้ว ยังจะได้ชมความงดงาม แปลกอัศจรรย์ของหินลูกพระบาท ก้อนหินกลมใหญ่ริมหน้าผา และได้รับ ความสดชื่นจากบรรยากาศบนยอดเขาคิชฌกูฏ นอกจากนี้ ผู้ที่ถึงวัดพลวง ตอนเย็นสามารถพักค้างคืนเพื่อเริ่มขึ้นยอดเขาในตอนเช้าได้ โดยทางวัด มีที่พัก และที่อาบน้ำไว้รองรับคนได้จํานวนมาก
การประชุมสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา ครั้งที่๓/๒๕๕๙วันพฤหัสบดีที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ณ ห้องประชุมสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมา
วัดสรศักดิ์ตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองสุโขทัยด้านเหนือ บริเวณใกล้กันกับศาลตาผาแดง วัดตระพังสอ และวัดซ่อนข้าว ณ วัดแห่งนี้ได้ค้นพบศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ กล่าวว่า นายอินทสรศักดิ์ได้ขอพระราชทานที่ดิน ขนาดกว้าง ๑๕ วา ยาว ๓๐ วา จากออกญาธรรมราชา เจ้าเมืองสุโขทัยในขณะนั้น เพื่อสร้างอารามถวาย ครั้นสร้างสำเร็จแล้วจึงให้นิมนต์พระมหาเถรธรรมไตรโลกฯ จากตำบลดาวขอน ผู้เป็นน้าของออกญาธรรมราชาเจ้าเมืองสุโขทัย ให้มาจำพรรษาที่วัดนี้ด้วย ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๑๙๕๙ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) ขณะยังทรงพระเยาว์ได้เสด็จมาบำเพ็ญพระราชกุศล พร้อมพระราชมารดาและพระมาตุจฉา (น้า) ที่เมืองสุโขทัย การเสด็จคราวนี้พระมาตุจฉาได้เสด็จเข้าพำนักยังพระตำหนักหัวสนามเก่าด้านทิศตะวันตกติดกับวัดสรศักดิ์ ความในศิลาจารึกวัดสรศักดิ์ตอนนี้เองที่ช่วยชี้ตำแหน่งของพระตำหนักหรือวังของเจ้านาย ตลอดถึงกษัตริย์ของสุโขทัยว่าควรจะอยู่ตรงบริเวณทิศตะวันตกของวัดสรศักดิ์เหนือศาลตาผาแดง และที่ปัจจุบันเป็นถนนจากวัดมหาธาตุ ผ่านระหว่างศาลตาผาแดง วัดสรศักดิ์ และพระตำหนักสู่ประตูศาลหลวงด้านทิศเหนือนี้ คือ “สนาม” ที่กล่าวถึงในจารึกวัดสรศักดิ์ ลักษณะเด่นของวัดนี้คือ มีเจดีย์ประธานทรงระฆัง หรือทรงลังกาอีกแบบหนึ่งที่นิยมสร้างมาแต่ครั้งสมัยสุโขทัย คือ เจดีย์ทรงระฆังกลมที่มีช้างล้อมรอบฐาน ตามความเชื่อว่าช้างเป็นสัตว์พาหนะของพระเจ้าจักรพรรดิ์ ที่คู่ควรกับการเป็นพาหนะค้ำจุนพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนตลอด ๕,๐๐๐ ปี ที่มาของข้อมูล : อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
ให้สาระความรู้ถึงประวัติความเป็นมาของการไว้จุก และการดกนจุกของเด็กไทย แสดงให้เห็นถึงพิธีกรรมตั้งแต่การโกนผมไฟ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้ของการไว้จุก พิธีโกนจุกทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ พิธีโกนจุที่โบสถ์พราหมณ์ ประโยชน์ของการไว้จุกและพิธีโกนจุก ความเชื่อและสาเหตุของการไว้จุก โก๊ะ เปีย และแกละ พร้อมเรื่องของการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมไทย
กรมศิลปากรประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อจ้างบุคคลเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่ง นักจัดการงานทั่วไป อัตราค่าจ้าง ๑๕,๐๐๐ บาท จำนวน ๓ อัตรา ผู้สนใจสามารถยื่นใบสมัครด้วยตัวเอง ที่ กรมศิลปากร สำนักบริหารกลาง กลุ่มอำนวยการและประสานราชการ เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้ จนถึงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๓ สอบถามเพิ่มเติม โทร. ๐ ๒๒๒๕ ๑๗๕๙