ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,813 รายการ
เลขทะเบียน : นพ.บ.41/5ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ : 40 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ชาดทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 23 (234-238) ผูก 5หัวเรื่อง : แปดหมื่นสี่พันขันธ์ --เอกสารโบราณ คัมภีร์ใบลาน พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม
ชื่อผู้แต่ง : ก่องแก้ว วีระประจักษ์
ชื่อเรื่อง : การทำสมุดไทย และการเตรียมใบลาน
ปีที่พิมพ์ : ๒๕๒๑
ครั้งที่พิมพ์ : -
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : โรงพิมพ์ไพศาลศิริ
จำนวนหน้า : ๑๕ หน้า
หมายเหตุ :
ในสมัยโบราณเมื่อยังไม่มีการตีพิมพ์หนังสือวรรณคดีเรื่องต่างๆ ก็ได้รับการจดบันทึก เขียน แต่งลงในสมุดไทยและใบลาน ซึ่งบรรพบุรุษของไทยได้ใช้อัจฉริยภาพคิดประดิษฐ์ขึ้นเป็นเครื่องมือเครื่องใช้
แหล่งที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำสมุดไทยและการเตรียมใบลาน พร้อมทั้งแสดงกรรมวิธีต่างๆ เป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสำเร็จ มีอยู่ ๒ ที่คือ
๑. สมุดไทยได้รับความอนุเคราะห์จากผู้มีอาชีพทำสมุดไทยคือ นางลูกอิน แตงเพียร เลขที่ ๑๓ หมู่ ๘ ตำบลบางซื่อ อำเภอดุสิต จังหวัดกรุงเทพมหานคร
๒. ใบลาน ได้รับความอนุเคราะห์จากท่านเจ้าของร้านลานทอง เลขที่ ๒๐๘ ถนนสามเสน บางขุนพรหม จังหวัดกรุงเทพฯ
จิรยา ประพรต.เตาเผาถ่าน ยายตุ้ม.จันท์ยิ้ม.(3):3;.กุมภาพันธ์-มีนาคม 2561
เตาเผาถ่าน ยายตุ้ม ขี่รถผ่านไปผ่านมาทางไปลาดนัดยามเย็น เห็นควันโขมงในทุก ๆ วันทําให้ได้รู้จัก ยายตุ้ม หรือ นางชิก ศรัทธาธรรม มากขึ้น ยายตุ้ม คือ ผู้มีแรงบันดาลใจ วัย 70 กว่าปี อายุมาก แต่ไม่หยุดนิ่ง หลังจากได้พูดคุยกันได้รู้ว่าคุณยายเป็นผู้อาวุโสของหมู่บ้านที่มีความคิดว่าต้นไม้ ที่แก่ ๆ ไม่ออกผลผลิ ผัดทิ้งแล้วจะเอาไปไว้ไหน? รู้สึกเสียดายที่ได้ปลูกมาหลายปี สันเงาะ ต้นมังคุด ต้นทุเรียน มีอายุมากและให้ผลผลิตน้อยต้องโค่นทั้งเพื่อปลูกใหม่ สำหรับล้นที่โค่นนั้น น่าจะสร้างประโยชน์ได้มากกว่าที่จะทิ้งเสียเปล่า เพราะต้นไม้แต่ละต้นใช้เวลาในการปลูก ดูแล และเติบโa หลายปี จึงได้คิดจะมาทําเป็นฝันเผาถ่าน นำไปขายสร้างรายได้เล็ก ๆ น้อย ๆ บางส่วนก็สามารถ นำไปใช้หุงต้มภายในครัวเรือนได้ จึงสร้างเตาเผาถ่านขึ้นมา สู่ธุรกิจเล็ก ๆ ที่มาของควันโขมง
เตาเผาถ่านของยายตุ้ม
เตาเผาถ่านที่ใช้ คือ เตาอิฐก่อเองกับมือ ผลิตถ่านออกมา ต่อการเปิดเตา 1ครั้งได้ถ่านมากกว่าเตาดินธรรมดา การลงทุนก่อสร้าง จะสูงกว่าเตาดินเหนียว เพราะว่าต้องใช้อิฐก่อเป็นรูปเตาแต่ใช้ได้นาน ทั้งชั่วอายุ หลังจากนั้นก็ต้องใช้ดินเหนียวเป็นตัวประสานก้อนอิฐ ให้ติดกันเป็นรูปทรงของเตา การก่อสร้างเตาอิฐก่อไม่ใช้ปูนซีเมนต์ ตัวของอิฐกับปูนไม่เท่ากันเมื่อเตาร้อนจะทําให้เตาเผาถ่านแตกหรือว่า ร้าวได้ถ้าเราใช้ดินเหนียวแทนปูนการขยายตัวก็จะน้อย รอยร้าวร้อยแตก ของเตาก็จะน้อย อายุการใช้งานของเตาก็นานด้วย เตาที่ใช้อยู่เป็นประจํา ก็ทํามานานแล้วยังเผาถ่านออกมาสวย
คุณสมบัติของถ่านที่ดีที่ยายตุ้มทําเอง มีความหนาแน่นสูง ให้ความร้อนสูง ไม่มีควันเมื่อติดไฟไม่แตกสะเก็ดเมื่อติดไฟ มีขี้เถ้าน้อย ผิวหน้ารอยหักมีสีมันวาว เคาะมีเสียงดังกังวาน
การสร้างเตาเผาถ่าน
- ควรจะปั้นเป็นรูปไข่ จะมีผลช่วยให้การกระจายความร้อนเป็นไป ได้ดีทั่วกัน ที่ตั้งของเตาเผาถ่าน ไม่ควรอยู่ตากแดดตากฝน ตําแหน่งที่ใช้ เป็นที่จุดไฟหน้าเตา ควรจะอยู่ต่ํากว่าพื้นเตาปล่องควันไฟในตอนล่าง ต้องมีขนาดใหญ่กว่าตอนบน เพื่อป้องกันลมเข้าทางปล่องควันเตา เรื่องอากาศภายในเตาก็สําคัญ ต้องใช้ความเชี่ยวชาญสูงถึงจะได้ถ่านที่ดี
อนุมานราชธน (ยง เสถียรโกเศศ), พระยา. สยามมาตาเทวี เครื่องประทีปในวรรณคดี. พระนคร : ราชบัณฑิตยสถาน, 2507
สยามมาตาเทวี เครื่องประทีปในวรรณคดี ประกอบด้วยเนื้อหาสองส่วนคือส่วนที่เกี่ยวกับ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาตร์ เศรษฐศาสตร์ ของประเทศไทย ว่าประเทศชาติเป็นบ้านเกิดเมืองนอนของคนชาวไทย ก็เท่ากับเป็นมารดาบังเกิดเกล้าของคนไทยด้วยกันทุกคน ลูกหลานจะต้องปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้ชื่อว่าเป็นผู้รู้พระคุณท่าน
ส่วนเรื่องเครื่องประทีปในวรรณคดี เกี่ยวกับการศึกษาหาความรู้จากหนังสือวรรณคดี เพื่อให้ทราบว่าเครื่องประทีปของไทยแต่เดิมมีอย่างไร แล้ววิวัฒนการมาอย่างไร.
คณะศึกษาดูงานจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลานำโดย ดร.ระเด่น สะมะแอ รองนายกฯ เข้าเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตร์พิมายอ.พิมาย จ.นครราชสีมา เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๖ เม.ย.๒๕๕๗มีนายขจร มุกมีค่า ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๒ นครราชสีมาและ นายดุสิต ทุมมากรณ์ หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ให้การต้อนรับ
องค์ความรู้ เรื่อง สนามบินประจำจังหวัดร้อยเอ็ดและการเดินอากาศไปรษณีย์ จัดทำข้อมูลโดยพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด
***บรรณานุกรม***
ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ
ปีที่ 17
ฉบับที่ 696
วันที่ 16-31 มกราคม 2536
ชื่อเรื่อง เทศนาสังคิณี-มหาปัฎฐานสพ.บ. 197/3ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 36 หน้า กว้าง 5.1 ซ.ม. ยาว 56.8 ซ.ม. หัวเรื่อง พุทธศาสนา บทสวดมนต์บทคัดย่อ/บันทึกเป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจาก วัดพยัคฆาราม อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
ชื่อเรื่อง สตฺตปฺปกรณภิธมฺมเทสนา (เทศนาสังคิณี-มหาปัฏฐาน)สพ.บ. 130/4ประเภทวัสดุมีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 48 หน้า กว้าง 5 ซ.ม. ยาว 56 ซ.ม. หัวเรื่อง ธรรมเทศนา
บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับทองทึบ ได้รับบริจาคมาจากวัดประสพสุข ต.ทับตีเหล็ก อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี