ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 42,080 รายการ
โครงการศึกษาสถาปัตยกรรม
แบบที่เรียกว่า "วิหาร"
ในวัฒนธรรมทวารวดี : กรณีศึกษาเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีผู้เรียบเรียง นางสาวพยุง วงษ์น้อย
นักโบราณคดีเชี่ยวชาญ
ทีมนักโบราณคดีได้ทำการวิเคราะห์แนวโบราณถสถานในพื้นที่ขุดค้นระยะที่ 4 เรียบร้อยแล้ว พบแนวโบราณสถานทั้งสิ้น 11 แนว ที่สำคัญเช่นแนวฉนวนทางเดินอิฐ ที่มีความยาวหลายเมตร ฐานรากอาคารรูปทรงสี่เหลี่ยมจำนวน 4 หลัง แนวขอบพื้นปูศิลาด้านข้างพระที่นั่งพุทไธสวรรค์ บางแนวมีอายุเก่าไปถึงสมัยรัชกาลที่ 4 การขุดค้นทางโบราณคดีครั้งนี้ถือเป็นมิติการค้นพบครั้งใหม่และกุญเเจสำคัญ ที่ช่วยตอบคำถามการใช้พื้นที่และตำแหน่งสิ่งปลูกสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล บริเวณเขตพระราชฐานชั้นกลาง (หมู่พระมณเฑียร และที่ออกว่าราชการของพระอุปราช) ในช่วงก่อนการยกเลิกตำแหน่งพระมหาอุปราชในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งถือว่ามีหลักฐานในอดีตหลงเหลือน้อยอย่างยิ่งข้อมูลจาก https://www.facebook.com/WangnaArchaeologicalProject2012
วันพุธที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๓ นางชุติมา จันทร์เทศ ภัณฑารักษ์ชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา พร้อมด้วยนายวรรณพงษ์ ปาละกะวงษ์ ณ อยุธยา นักโบราณคดีปฏิบัติการ เข้าร่วมการประชุมแนวทางการพัฒนา โครงกระดูกมนุษย์ที่ค้นพบที่วัดพระนารายณ์ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๓ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ โดยมีนายศักดิ์สิทธิ์ สกุลลิขเรศสีมา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา เป็นประธานในการประชุม
เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 นายสุพจน์ พรหมมาโนช ผู้อำนวยการสำนักศิลปกรที่ 7 เชียงใหม่ และนายเทอดศักดิ์ เย็นจุระ ผู้อำนวยการกลุ่มอนุรักษ์โบราณสถาน สำนักศิลปากรที่ 7 เชียงใหม่ ลงพื้นที่ตรวจสอบวัดร้าง ในพื้นที่ตำบลเวียงใต้ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน
วันอังคารที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๒ นางชุติมา จันทร์เทศ ภัณฑารักษ์ชำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา พร้อมด้วย นายชำนาญ กฤษณสุวรรณ ผู้อำนวยการกลุ่มอนุรักษ์โบราณสถาน และนางสาวสุภาวดี อินทรประเสริฐ นักโบราณคดีชำนาญการ ลงพื้นที่ตรวจโบราณสถานเมืองเสมา และวัดพระนอนเมืองเสมา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อวัตถุ:: เสื้อผู้หญิงมอญเลขทะเบียน::43/0081/2558
ลักษณะ::เสื้อแขนยาว ทรงกระบอก ลูกไม้โปร่ง ลายดอกไม้ สีชมพู คอวี ขนาดพอดีตัวกลุ่มชาติพันธุ์::มอญแหล่งที่มาข้อมูล::อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ผ้าสไบมอญเลขทะเบียน::43/0082/2558
ลักษณะ::ผ้าสไบสี่เหลี่ยผืนผ้าสีแดง ลักษณะผ้าโปร่งบาง ปักเลื่อมลายดอกไม้ สีแดงเข้มกลุ่มชาติพันธุ์::มอญแหล่งที่มาข้อมูล::อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ผ้าถุงมอญเลขทะเบียน:: 43/0083/2558
ลักษณะ::ผ้าถุงพื้นสีแดงลายดอกจัน ด้านปลายเกือบถึงตีนซิ่นลายคั่นสีม่วงเหลือง หัวซิ่นสีดำกลุ่มชาติพันธุ์::มอญแหล่งที่มาข้อมูล::อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: เสื้อมอญชายเลขทะเบียน::43/0084/2558
ลักษณะ::เสื้อคอกลมผ่าอก แขนกระบอก มีเชือกสำหรับผูกเข้าหากัน ลายตารางสี่เหลี่ยมสีแดงบนพื้นขาวกลุ่มชาติพันธุ์::มอญแหล่งที่มาข้อมูล::อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ผ้าปักเลขทะเบียน::43/0093/2558
ลักษณะ::ผ้าทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปักลวดลายช้าง ม้า นกยูง และพรรณพฤกษาบนพื้นสีดำ ส่วนของผ้าปักลายดอกไม้และลายคลื่นสามเหลี่ยมกลุ่มชาติพันธุ์::มอญแหล่งที่มาข้อมูล::อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ผ้าสไบมอญเลขทะเบียน::43/0094/2558
ลักษณะ::ผ้าทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีพื้นสีแดง ไม่มีลวดลายกลุ่มชาติพันธุ์::ญัฮกูรแหล่งที่มาข้อมูล::อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: เสื้อเลขทะเบียน::43/0095/2558
ลักษณะ::เสื้อทรงสี่เหลี่ยม ไม่มีแขน ตัวเสื้อส่วนบนเป็นผ้าพื้นสีดำ ชายเสื้อด้านล่างเป็นผ้าสีแดง ปักลายกลุ่มชาติพันธุ์::ญัฮกูรแหล่งที่มาข้อมูล::อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ซองพลูเลขทะเบียน::43/0121/2558
ลักษณะ::ทรงคล้ายกรวย ก้นตัดตรงเป็นเหลี่ยมสี่เหลี่ยมฉลุลายดอกไม้ ส่วนปากซองด้านหลังจะสูงกว่าขึ้นมาเป็นรูปสามเหลี่ยมกลุ่มชาติพันธุ์::ไม่สามารถระบุได้แหล่งที่มาข้อมูล::อ.เมือง จ.ชลบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ลูกเป้ง(สิงห์)เลขทะเบียน::43/0122/2558
ลักษณะ::รูปสิงห์ยืนอยู่บนฐานสี่เหลี่ยม ใช้สำหรับเป็นลูกตุ้มถ่วงน้ำหนัก เครื่องชั่งโบราณ(ยอย) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเปรียบเทียบกับน้ำหนักของสิ่งของที่นำมาชั่งกลุ่มชาติพันธุ์::ไม่สามารถระบุได้แหล่งที่มาข้อมูล::อ.เมือง จ.ชลบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ลูกเป้ง(สิงห์)เลขทะเบียน::43/0123/2558
ลักษณะ::รูปสิงห์ยืนอยู่บนฐานสี่เหลี่ยม ใช้สำหรับเป็นลูกตุ้มถ่วงน้ำหนัก เครื่องชั่งโบราณ(ยอย) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานเปรียบเทียบกับกลุ่มชาติพันธุ์::ไม่สามารถระบุได้แหล่งที่มาข้อมูล::อ.เมือง จ.ชลบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: น้ำต้น,คนโทน้ำเลขทะเบียน::43/0192/2558
ลักษณะ::ลำตัวป่อง ก้นสอบมีเชิง ฐานตัดตรง คอยาวสูง ขอบปากผายออกเล็กน้อย ส่วนไหล่กดประทับลายอุรอบ ลำตัวขีดเป็นเส้นตรงรอบทำให้ดูคล้ายเป็นกลีบฟักทองกลุ่มชาติพันธุ์::ไม่สามารถระบุได้ แหล่งที่มาข้อมูล::อ.เมือง จ.ชลบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: กระต่ายขูดมะพร้าวเลขทะเบียน::43/0185/2558
ลักษณะ::แผ่นไม้ทรงสี่เหลี่ยมแบน มีขาด้านหน้า-หลัง คล้ายตั่งนั่งขนาดเล็ก ส่วนหัวมีไม้ยื่นออกไป ติดปลายด้วยใบมีดโลหะ ทรงกลมขอบฟันเลี่อย สำหรับขูดมะพร้าวกลุ่มชาติพันธุ์::ไม่สามารถระบุได้แหล่งที่มาข้อมูล::อ.เมือง จ.ชลบุรีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ไหปลาร้าเลขทะเบียน::43/0193/2558
ลักษณะ::ไหปากหล่อน้ำ ลำตัวกลม ก้นสอบตัดตรง ขอบปากสองชั้น ชั้นนอกผายออก เป็นที่สำหรับหล่อน้ำ ขอบปากชั้นในแคบตรง มีฝาคล้ายครกสำหรับปิดกลุ่มชาติพันธุ์::ไทลาวแหล่งที่มาข้อมูล::ต.บ้านธาตุ จ.อุดรธานี แหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ผ้าซิ่นเลขทะเบียน::43/0066/2558
ลักษณะ::ซิ่นมัดหมี่คั่น หัวซิ่นทอเป็นลายตั้งสลับเส้นไหมแทรกเล็กๆสลับสีต่างๆตัวซิ่นมัดหมี่ลายนาคตีนซิ่นขิดและแทรกด้วยดิ้นเงินดิ้นทองกลุ่มชาติพันธุ์::ไทลาวแหล่งที่มาข้อมูล::อ.เพ็ญ จ.อุดรธานีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
ชื่อวัตถุ:: ผ้าซิ่นเลขทะเบียน::43/0067/2558
ลักษณะ::ซิ่นมัดหมี่ลายนาคขอสีขาวบนพื้นครามไม่มีหัวซิ่นและตีนซิ่นใช้ใส่ในชีวิตประจำวันทั่วไปกลุ่มชาติพันธุ์::ไทลาวแหล่งที่มาข้อมูล:: อ.เพ็ญ จ.อุดรธานีแหล่งที่มาข้อมูล::พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก (ฝ่ายวิชาการ)
เมื่อวันที่ 14-16 พฤศจิกายน 2561 นางอัญชิสา เสือเพ็ชร หัวหน้าหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก จันทบุรี มอบหมายให้นางเบญจมาศ คุ้มรักษา พนักงานการเงินและบัญชี เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมการพัฒนาบุคลากรเชิงปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานของหน่วยเบิกจ่ายมีความรู้ ในการปฏิบัติงาน ของเงินกองทุนส่งเสริมงานจดหมายเหตุ ณ ไอธารา รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดเพชรบุรี