ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 41,346 รายการ
ชื่อผู้แต่ง : พระมงคลทิพมณี
ชื่อเรื่อง : การปฎิสังขรณ์พระพุทธบาทสมัย ร.๕
ครั้งที่พิมพ์ : -
สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ
สำนักพิมพ์ : บริษัท ศรีอนันต์การพิมพ์ จำกัด
ปีที่พิมพ์ : 2536
จำนวนหน้า : 343 หน้า
หมายเหตุ : หนังสือที่ระลึกในงานออกพระเมรุพระราชทานเพลิงศพพระราชรัตนกวี ( เสวก ธมมฺวโร )
หนังสือการปฎิสังขรณ์พระพุทธบาทสมัย ร.5เป็นหนังสือรายงานการปฎิสังขรณ์พระพุทธบาทของพระพุฒาจารย์( มา ) สมัยดำรงพระสมณศักดิ์ พระมงคลทิพมณีอดีตเจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาส มีลิขิตรายงานแก่ ร.5ให้ทรงทราบเป็นคราวๆไป
ลูกปัดแบบมีตามีแหล่งผลิตในแถบเมดิเตอร์เรเนียนในอาณาจักรกรีก โรมัน และเปอร์เซีย (ตั้งแต่ช่วง ๓๐๐ ปีก่อนพุทธศตวรรษ - พุทธศตวรรษที่ ๖) ลูกปัดแบบมีตาที่เก่าแก่ที่สุดที่พบในพื้นที่คาบสมุทรอนาโตเลีย มีอายุถึง ๕๐๐-๓๐๐ ปีก่อนพุทธศตวรรษ และได้พบลูกปัดรูปแบบนี้ในอินเดียซึ่งพบมากในภาคเหนือและภาคกลางในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๓ – ๗ เมืองโบราณของอินเดียที่พบลูกปัดมีตา คือ ตักศิลา อุชเชนศราวัสติ โกสัมภี และโกณฑิณยปุระ เป็นต้น ลูกปัดมีตาที่พบในอินเดียแสดงให้เห็นถึงการติดต่อค้าขายกับกรีก-โรมัน เปอร์เชีย สำหรับในประเทศไทยได้พบลูกปัดมีตาในแหล่งโบราณคดีสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ซึ่งมีอายุสมัยอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๓-๕ โดยมักจะพบร่วมกับลูกปัดหินคาร์เนเลียนและอาเกต และยังพบในเมืองท่าโบราณทางภาคใต้ที่แหล่งโบราณคดีคลองท่อม (ควนลูกปัด) จังหวัดกระบี่ แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก (เหมืองทอง) จังหวัดพังงา และแหลมโพธิ์ จังหวัดสุราษฏร์ธานี สำหรับลูกปัดมีตาซึ่งเก็บรักษาที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง พบที่แหล่งโบราณคดีทุ่งตึก ต.เกาะคอเขา อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา ซึ่งเป็นเมืองท่าโบราณในฝั่งอันดามัน เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๖ และยังพบลูกปัดมีตาในฝั่งอ่าวไทยที่แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ จังหวัดสุราษฏร์ธานีซึ่งเป็นเมืองท่าที่เจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ – ๑๕ ลูกปัดมีตาจึงเป็นหลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงการติดต่อระหว่างเมืองท่าโบราณในภาคใต้และเมืองท่าของอินเดียซึ่งมีมาตั้งแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๓–๕ รวมถึงในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๖ -----------------------------------จัดทำข้อมูล : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ที่มาข้อมูล :ธราพงศ์ ศรีสุชาติ. “ลูกปัดต่างชาติในแหล่งโบราณคดีไทย,” ศิลปากรปีที่ ๓๓, ฉบับที่ ๑ (มีนาคม - เมษายน ๒๕๓๒):, ๑๔-๑๕. ผาสุข อินทราวุธ. สุวรรณภูมิจากหลักฐานทางโบราณคดี, กรุงเทพฯ : ศักดิ์โสภาการพิมพ์, ๒๕๔๘. บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ. ทุ่งตึก เมืองท่าการค้าโบราณ. กรุงเทพ : บริษัท สำนักพิมพ์สมาพันธ์ จำกัด, ๒๕๕๒.
***บรรณานุกรม***
ผดุงถิ่นยุคข่าวเศรษฐกิจ
ปีที่ 8
ฉบับที่ 340
วันที่ 16-20 กุมภาพันธ์ 2527
ผู้แต่ง : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ฉบับพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ 1
สถานที่พิมพ์ : พระนคร
สำนักพิมพ์ : กรมศิลปากร
ปีที่พิมพ์ : 2507
หมายเหตุ : พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายนาถ สิงหศักดิ์
ประวัติความเป็นมาของการเริ่มตีพิมพ์หนังสือเรื่องสามก๊ก และว่าด้วยการแปลหนังสือสามก๊กเป็นภาษาต่าง ๆ แล้วได้มีการพิมพ์แพร่หลายในประเทศจีน และฉบับต่อไปในประเทศอื่น ๆ
ชื่อเรื่อง โพธิปกฺขิยธมฺม (โพธิปักขิยธรรม เผด็จ)สพ.บ. 146/1ประเภทวัสดุ/มีเดีย คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่ พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ 76 หน้า กว้าง 4 ซ.ม. ยาว 57 ซ.ม.หัวเรื่อง พุทธศาสนา--เทศนา วรรณคดีพุทธศาสนา บทคัดย่อ/บันทึก
เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากวัดป่าเลไลยก์ ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี
ชื่อผู้แต่ง -
ชื่อเรื่อง ประมวลเอกสาร
ครั้งที่พิมพ์ -
สถานที่พิมพ์ พระนคร
สำนักพิมพ์ ร.พ.รุ่งเรืองธรรม
ปีที่พิมพ์ ๒๕๐๐
จำนวนหน้า ๘๔ หน้า
หมายเหตุ เนื่องในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ๑๒ - ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๐๐
หนังสือประมวลเอกสารนี้ รวบรวม คำกราบ บังคมทูล พระราชดำรัสตอบ สุนทรพจน์เป็นพุทธบูชา รายงานการสร้างพระพุทธรูป สุนทรพจน์ต้อนรับ และรับมอบของที่ระลึกลิขิตอนุโมทนา ฯลฯ