ค้นหา
รายการที่พบทั้งหมด 40,992 รายการ
ดวงตราไปรษณียากร ชุดเครื่องดนตรีไทย ผลิตในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ซึ่งเครื่องดนตรีเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับทำให้เกิดเสียงเป็นทำนอง จังหวะ วิธีการบรรเลงสามารถแบ่งตามลักษณะที่ทำให้เกิดเสียงเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเป่า
เรียบเรียงโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการ หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง :
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ขลุ่ยเพียงออ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: http://patdramaa111.srp.ac.th/khluy-pheiyng-xx-1
มนตรี ตราโมท. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, ๒๕๕๑.
วิเศษดนตรี. ลาวดวงดอกไม้ บรรเลงกระจับปี่หมู่. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=RMXSnBOLIMw, ๒๕๖๕.
สําเนียงอรชร. เดี่ยวซอสามสายแสนเสนาะ สามชั้น ทางครูเจริญใจ สุนทรวาทิน ถ่ายทอด/ฝึกซ้อม โดยอาจารย์มาณพ อิศรเดช. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=dCuFSgZ21xw, ๒๕๖๕.
Krupeep Konglaithong. เดี่ยวขลุ่ยเพียงออเพลงสารถี สามชั้น ครูปี๊บ คงลายทอง เผยแพร่โดย : คณะศิษย์คงลายทอง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=oLV3Ui7r7dk, ๒๕๖๔.
Siammelodies. โทนชาตรี โทน รำมะนามโหรี ฟังดนตรีไทยให้สนุกชุดครบเครื่องเรื่องเครื่องกำกับจังหวะ EP.8/10 โดยดร.สมาน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=WE0dCe9ndKw, ๒๕๖๕.
StampThailand. แสตมป์เครื่องดนตรีไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: http://www.stampthailand.com/product/3536/แสตมป์เครื่องดนตรีไทย, ๒๕๖๓.
ดวงตราไปรษณียากร ชุดเครื่องดนตรีไทย ผลิตในปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ซึ่งเครื่องดนตรีเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นสำหรับทำให้เกิดเสียงเป็นทำนอง จังหวะ วิธีการบรรเลงสามารถแบ่งตามลักษณะที่ทำให้เกิดเสียงเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ เครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเป่า
เรียบเรียงโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง :
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ขลุ่ยเพียงออ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: http://patdramaa111.srp.ac.th/khluy-pheiyng-xx-1
มนตรี ตราโมท. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, ๒๕๕๑.
วิเศษดนตรี. ลาวดวงดอกไม้ บรรเลงกระจับปี่หมู่. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=RMXSnBOLIMw, ๒๕๖๕.
สําเนียงอรชร. เดี่ยวซอสามสายแสนเสนาะ สามชั้น ทางครูเจริญใจ สุนทรวาทิน ถ่ายทอด/ฝึกซ้อม โดยอาจารย์มาณพ อิศรเดช. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=dCuFSgZ21xw, ๒๕๖๕.
Krupeep Konglaithong. เดี่ยวขลุ่ยเพียงออเพลงสารถี สามชั้น ครูปี๊บ คงลายทอง เผยแพร่โดย : คณะศิษย์คงลายทอง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=oLV3Ui7r7dk, ๒๕๖๔.
Siammelodies. โทนชาตรี โทน รำมะนามโหรี ฟังดนตรีไทยให้สนุกชุดครบเครื่องเรื่องเครื่องกำกับจังหวะ EP.8/10 โดยดร.สมาน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.youtube.com/watch?v=WE0dCe9ndKw, ๒๕๖๕.
StampThailand. แสตมป์เครื่องดนตรีไทย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗, จาก: http://www.stampthailand.com/product/3536/แสตมป์เครื่องดนตรีไทย, ๒๕๖๓.
ส่งเสริมการอ่านผ่าน Facebook กับหอสมุดแห่งชาติชลบุรี
เรื่อง สอนเด็กให้เป็นคนดี
วิจารณ์ พานิช. สอนเด็กให้เป็นคนดี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล, 2557.
ห้องหนังสือทั่วไป 1 เลขเรียกหนังสือ 649.1 ว519ส
เด็กในวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า คำกล่าวนี้เป็นที่รู้จักของใครหลายคน และแน่นอนว่าเด็กทุกคนล้วนมีศักยภาพในตัวเองที่จะสามารถพัฒนาต่อยอดไปเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตได้ ทั้งนี้ต้องอาศัยการเลี้ยงดูปลูกฝังจากคนในครอบครัวที่เป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งต่อการหล่อหลอมคนหนึ่งคนให้เติบโตมาในสังคมอย่างมีคุณภาพ
สอนเด็กให้เป็นคนดี เล่มนี้ ผู้เขียนพาเราไปพบกับ การปูพื้นฐานที่ดีสำหรับเด็ก เพื่อนำไปสู่การเป็นคนดีของสังคม ผ่านการเลี้ยงดูของพ่อแม่ ญาติ การอบรมสั่งสอนจากครู และบุคคลอื่นที่อยู่รายล้อมเด็ก เพราะเด็กเรียนรู้จากผู้ใหญ่และในขณะเดียวกันผู้ใหญ่ก็ต้องเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับเด็ก ถือเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีร่วมกัน โดยเฉพาะพ่อและแม่บุคคลที่ใกล้ชิดที่สุด มีหน้าที่เป็นครูฝึกของลูก ช่วยประคับประคองให้ลูกก้าวผ่านชีวิตในแต่ละขั้น รวมทั้งเป็นผู้ปลูกฝังพื้นฐานทางอารมณ์ ความคิด และทักษะการเข้าสังคม เพื่อนำไปสู่วันที่ลูกพึ่งพาตนเองได้และท้ายที่สุดคือการเป็นคนดีในสังคม การวางรากฐานให้ลูกสามารถทำได้ผ่าน 8 ข้อหลักที่ผู้เขียนนำเสนอ ยกตัวอย่างเช่น การฝึกจัดการทางอารมณ์ทั้งเด็กและพ่อแม่ เมื่อต้องเผชิญภาวะรุนแรงทางอารมณ์ที่นับเป็นเรื่องสำคัญอันดับต้นๆ ที่พ่อแม่ต้องคลี่คลายและจัดการให้เกิดผลเชิงบวก จากการรับฟังอย่างเข้าใจและเห็นใจ เพราะจะทำให้ตอบสนองความต้องการได้อย่างตรงจุด ในขณะที่เด็กก็ต้องเรียนรู้ทักษะที่จะจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของตนเอง ซึ่งจะสอดคล้องกับการพัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม เด็กต้องได้รับการฝึกให้เคารพตนเองไปพร้อมๆ กับการเคารพผู้อื่น ไม่ปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผลจนเกิดเป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การทำร้ายร่างกาย หรือรังแกผู้อื่น สาเหตุหนึ่งของความรุนแรงในวัยรุ่นมาจากแรงกดดันในกลุ่มเพื่อน มีเด็กจำนวนไม่น้อยที่เลือกเดินทางผิดเพราะอยากได้รับการยอมรับจากเพื่อน นั่นจึงเป็นสาเหตุให้การปลูกฝังความกล้าหาญทางสังคมเป็นอีกหนึ่งทักษะที่พ่อแม่ควรส่งเสริมให้ลูก เพื่อให้กล้าคิด กล้าตัดสินใจทำในสิ่งที่ถูกต้องและเชื่อมั่นในสามัญสำนึกที่ดีในตัวเอง ทำให้เอาชนะแรงกดดันต่างๆ ที่ต้องเผชิญและมีความสามารถในการฟันฝ่าอุปสรรคในชีวิตได้ ผู้สนใจสามารถหาอ่านได้ที่หอสมุดแห่งชาติชลบุรี (วันอังคาร – วันเสาร์ เวลา 09.00 - 17.00 น.)
วันศุกร์ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๗ นางสาวฑาริกา กรรมจันทร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป พร้อมด้วยนางสาวอรุณี เนียนไธสง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ลงพื้นที่ตรวจโบราณสถานปราสาทบ้านบุใหญ่ โบราณสถานปราสาทเมืองแขก เมืองโบราณเมืองเสมา อำเภอสูงเนิน และโบราณสถานปราสาทพนมวัน อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
กฤตภาคข่าวท้องถิ่น
เรื่อง สร้างอาชีพ ปั้นบาริสต้า กับกาแฟพันธุ์ไทย
กรมศิลปากร. ประวัติวัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร จังหวัดสงขลา. กรุงเทพฯ: สหประชาพาณิชย์, 2529.
กรมศิลปากร. ภูมิปัญญาไทยในงานศิลป์ถิ่นเมืองกรุง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2543.
สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ. ทำเนียบโบราณสถานขอมในประเทศไทย เล่ม 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2539.