ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 40,965 รายการ

วันพุธที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๗ นางสาวปุณณภา สุขสาคร ผู้อำนวยการหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ และบุคลากร เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ เรื่อง "คิด..ทำ..เล่น" ออกแบบบอร์ดเกม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในโลกไร้พรมแดน และมอบทรัพยากรสารสนเทศที่ให้ยืมบริการแก่ผู้ต้องขังและบุคลากร เพื่อให้ใช้บริการภายในห้องสมุดทัณฑสถานหญิงเชียงใหม่










ช่วงนี้เป็นที่นิยมในการบวชพระใหม่ บวชช่วงเวลาก่อนเข้าพรรษา หอสมุดจึงมีกิจกรรม "พับเหรียญโปรยทาน โปรยสุข" ในโครงการKIDsเรียนรู้ @หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก กาญจนบุรี-ไม่ต้องลงทะเบียน -สอนฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น แล้วพบกันในวันเสาร์ที่ 25 พฤษภาคม 2567


ขรัวอินโข่ง เป็นศิลปินที่ได้รับการยกย่อง เป็นจิตรกรเอกในสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินที่มีความก้าวหน้าในการผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทย และแนวดำเนินชีวิตของตะวันตกเข้าด้วยกันอย่างลงตัว เรียบเรียงโดย : นางสาวสุพิชชา ปั้นชาวนา นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ควบคุมโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการ หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง : กระทรวงวัฒนธรรม กรมศาสนา.   พระอารามหลวง เล่ม ๑.  พิมพ์ครั้งที่ ๒.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๖๔. วิยะดา ทองมิตร.  จิตรกรรมแบบสากล สกุลช่าง ขรัวอินโข่ง.  กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและค้นคว้าศิลปวัฒนธรรมไทย, ๒๕๒๒. นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา.  สาส์นสมเด็จ ลายพระหัตถ์ของสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ.           พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๙๒. ไปรษณีย์ไทย.  ชีท วันอนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๖๓ (๑๑๘๖).  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: https://thailandpostmart.com/product/1013460000360 วิกิพีเดีย.  ขรัวอินโข่ง.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ขรัวอินโข่ง ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.  วัดพระงาม.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: http://www.m-culture.in.th/album/view/154566/ สำนักงานเทศบาลเมืองเพชรบุรี.  วัดมหาสมณาราม.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๗,          จาก: http://www.phetchaburicity.go.th/home/index.php?option=com_content&view=article&id=286&Itemid=137 สำนักราชเลขาธิการ.  โคลงสุภาษิตประจำภาพในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม.  กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, ๒๕๕๖. หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.  วัดบรมนิวาส ราชวรวิหาร.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗,          จาก: http://www.thapra.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=31&Itemid=28 หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.  วัดบวรนิเวศวิหาร. [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗,          จาก: http://www.thapra.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=4&Itemid=2 หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.  วัดพระศรีรัตนศาสดาราม. [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗,          จาก: http://www.thapra.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=17&Itemid=18


ขรัวอินโข่ง เป็นศิลปินที่ได้รับการยกย่อง เป็นจิตรกรเอกในสมัยรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินที่มีความก้าวหน้าในการผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทย และแนวดำเนินชีวิตของตะวันตกเข้าด้วยกันอย่างลงตัว เรียบเรียงโดย : นางสาวสุพิชชา ปั้นชาวนา นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ควบคุมโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง : กระทรวงวัฒนธรรม กรมศาสนา.   พระอารามหลวง เล่ม ๑.  พิมพ์ครั้งที่ ๒.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, ๒๕๖๔. วิยะดา ทองมิตร.  จิตรกรรมแบบสากล สกุลช่าง ขรัวอินโข่ง.  กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและค้นคว้าศิลปวัฒนธรรมไทย, ๒๕๒๒. นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา.  สาส์นสมเด็จ ลายพระหัตถ์ของสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ.           พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๙๒. ไปรษณีย์ไทย.  ชีท วันอนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๖๓ (๑๑๘๖).  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: https://thailandpostmart.com/product/1013460000360 วิกิพีเดีย.  ขรัวอินโข่ง.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ขรัวอินโข่ง ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.  วัดพระงาม.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: http://www.m-culture.in.th/album/view/154566/ สำนักงานเทศบาลเมืองเพชรบุรี.  วัดมหาสมณาราม.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๗,         จาก: http://www.phetchaburicity.go.th/home/index.php?option=com_content&view=article&id=286&Itemid=137 สำนักราชเลขาธิการ.  โคลงสุภาษิตประจำภาพในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม.  กรุงเทพฯ : สำนักราชเลขาธิการ, ๒๕๕๖. หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.  วัดบรมนิวาส ราชวรวิหาร.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗,         จาก: http://www.thapra.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=31&Itemid=28 หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.  วัดบวรนิเวศวิหาร. [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗,         จาก: http://www.thapra.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=4&Itemid=2 หอสมุดวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร.  วัดพระศรีรัตนศาสดาราม. [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗,         จาก: http://www.thapra.lib.su.ac.th/web-temple/index.php?option=com_content&view=article&id=17&Itemid=18


วันอังคารที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๗ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. การประกวดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ โดยบุคลากรหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ ภายใต้หลักสูตรอบรมและส่งเสริมสมรรถนะวิชาชีพ สำหรับข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์และเจ้าพนักงานห้องสมุด (บรรจุใหม่) ของหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ ผู้เข้าแข่งขัน มี ๒ ทีม ทีมที่ 1 Funny Library       - workshop : ขวดหอมปรับอากาศ ทีมที่ 2 Mommy and พี่บรรณ       - workshop :  ร้อยรักถักทอ โดย ทีมที่ชนะเลิศ คือ ทีมFunny Library workshop : ขวดหอมปรับอากาศ ส่วนรองชนะเลิศ คือ ทีม Mommy and พี่บรรณ workshop : ร้อยรักถักทอ มอบของรางวัล โดยผู้อำนวยการหอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่



นักท่องเที่ยวที่เข้าชมโบราณสถานปราสาทพนมวัน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เช่าบูชาเหรียญพระพุทธสิหิงค์ ๑๑๒ ปี กรมศิลปากร และเหรียญพระพิฆเนศวร กรมศิลปากร ปี ๒๕๔๗ เนื้อทองแดงรมดำ เพื่อความเป็นสิริมงคล โบราณสถานปราสาทพนมวันเปิดบริการทุกวันตั้งแต่เวลา ๐๗.๐๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. โดยเก็บค่าธรรมเนียมเข้าชม ชาวไทย ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ๕๐ บาท และทุกท่านสามารถเช่าบูชาเหรียญพระพุทธสิหิงค์ทั้ง ๓ แบบได้ที่ อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย จังหวัดนครราชสีมา อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทบ้านพลวง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทศีขรภูมิ อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ กรมศิลปากร จัดสร้างพระพุทธสิหิงค์จำลองในโอกาสครบรอบ ๑๑๒ ปี แห่งการสถาปนากรมศิลปากร พุทธศักราช ๒๕๖๖ * เหรียญ​บรอนซ์​นอกขัดเงา ​บูชาเหรียญละ ๑๙๙.-บาท * เหรียญ​โลหะสัมฤทธิ์​ขัดเงา บูชาเหรียญละ ๑๙๙.-บาท * เหรียญ​ทองแดงรมซาติน บูชาเหรียญละ ๑๙๙.-บาท


Messenger