ค้นหา


รายการที่พบทั้งหมด 37,379 รายการ

เลขทะเบียน : นพ.บ.11/10ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  44 หน้า  ; 4 x 56 ซ.ม. : ล่องชาด ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 7 (74-82) ผูก 9หัวเรื่อง : จูฬวคฺคปาลิ--เอกสารโบราณ            คัมภีร์ใบลาน            พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


เลขทะเบียน : นพ.บ.41/1ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  42 หน้า ; 4.5 x 59 ซ.ม. : ชาดทึบ ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 23 (234-238) ผูก 1หัวเรื่อง :  แปดหมื่นสี่พันขันธ์ --เอกสารโบราณ             คัมภีร์ใบลาน             พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม


ชื่อผู้แต่ง        อิทธิเทพสรรค์ กฤดากร,หม่อมเจ้า ชื่อเรื่อง         เรื่องเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทย ครั้งที่พิมพ์     พิมพ์ครั้งที่ 5   สถานที่พิมพ์   กรุงเทพฯ            สำนักพิมพ์     หจก.จงเจริญการพิมพ์ ปีที่พิมพ์        2518 จำนวนหน้า    51      หน้า หมายเหตุ      พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพนาย บุญเลิศ อินทรณัฎ                          หนังสือเรื่องเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมไทยโดยหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านสถาปัตยกรรมและเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวนการศิลปากรสถาน ทรงนิพนธ์เรื่องนี้ประทานแก่หนังสือพิมพ์ต่างๆ ในระหว่าง พ.ศ.2476 และพ.ศ.2477 กรมศิลปากรได้เคยรวมพิมพ์ครั้งแรกในงานพระราชเพลิงศพหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2478


 ชื่อผู้แต่ง  :  พระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท  พระราวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์   ชื่อเรื่อง  :  นิราศพระประธม   ปีที่พิมพ์  :  ๒๕๒๒   ครั้งที่พิมพ์  :  พิมพ์ครั้งที่ห้า   สถานที่พิมพ์  :  -   สำนักพิมพ์  :  -   จำนวนหน้า  :  ๗๑ หน้า   หมายเหตุ  :  พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปณกิจศพ นางเฉื่อย  บุญวีระ                          เรื่อง นิราศพระประธม นี้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ทรงนิพนธ์ขึ้นเมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นกรมหมื่นวงษาสนิท ในรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์และได้ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในหนังสือวชิรญาณ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ ต่อมาพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์เมื่อครั้งทรงดำรงตำแหน่งอุปนายกราชบัณฑิตยสภา ได้ทรงชำระ ครั้งนี้นับเป็นการพิมพ์ครั้งทีห้า ได้นำคำของผู้ชำระมาพิมพ์รวมไว้ข้างหน้าเรื่องด้วย                      อนึ่ง ในการจัดพิมพ์ครั้งนี้ได้รักษาอักขรวิธีตรมตามข้างต้นฉบับเดิมทุกประการ และเจ้าภาพได้ขออนุญาตนำเรื่องโจรจันทร์จากนิทานที่ ๑๑ ในนิทานโบราณคดี พระนิพนธ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพมารวมพิมพ์ไว้ด้วย


นิตยสารรายสองเดือน กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ : เพื่อเผยแพร่ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมในสาระสำคัญต่าง ๆ และ เพื่ออนุรักษ์สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ


นริศรานุวัดติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าฯ กรมพระยา และ ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา.  สาส์นสมเด็จลายพระหัตถ์         สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ และสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ภาคที่ 46.  กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2516.            หนังสือเรื่องสาส์นสมเด็จ ภาคที่ 46 นี้ เป็นลายพระหัตถ์สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ กับสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงมีโต้ตอบกันในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพเมื่อทรงว่างจากภาระทางราชการการเมือง และทรงพักผ่อนอย่างเงียบ ๆ พระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งสองพระองค์นี้ เป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไปในหมู่นักศึกษา โบราณคดี ศิลปและวรรณคดี และการปกครอง สาส์นสมเด็จนี้มีอยู่มากมายด้วยกัน ภาคนี้เป็นภาคที่ 46.  


วัสดุ : หิน ขนาด : น้ำหนัก 60 กรัม สมัย : ก่อนประวัติศาสตร์ อายุ : พุทธศตวรรษที่ 5-10 ลักษณะวัตถุ : หินคาร์เนเลี่ยนสีส้ม รูปทรงต่างๆ ร้อยรวมเป็น 1 พวง จำนวน 64 เม็ด           ลูกปัดเป็นเครื่องประดับที่อยู่คู่กับมนุษย์มาเป็นเวลานาน คนก่อนประวัติศาสตร์ใช้วัสดุที่ใกล้ตัว เช่น เปลือกหอย, กระดูกสัตว์ และหิน มาเจาะรูแล้วร้อยเป็นเส้น ใช้เป็นสร้อยคอ สร้อยข้อมือ หรือร้อยติดกับเส้นผมและเสื้อผ้า ในหลุมฝังศพสมัยก่อนประวัติศาสตร์พบว่ามีการสวมสร้อยลูกปัดให้กับคนตาย ลูกปัดจึงเป็นเครื่องประดับที่มีค่าของคนในอดีต ได้ค้นพบแหล่งผลิตลูกปัดโบราณในภาคใต้ เช่น แหล่งโบราณคดีควนลูกปัดหรือคลองท่อม จังหวัดกระบี่, แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี, แหล่งโบราณคดีภูเขาทอง จังหวัดระนอง และแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว จังหวัดชุมพร เป็นต้น           แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว เป็นเมืองท่าโบราณรุ่นแรกในภาคใต้ กำหนดอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 5-10 พบว่ามีการติดต่อกับต่างแดน ได้พบโบราณวัตถุที่เกี่ยวข้องกับการค้าในสมัยโบราณ เช่น กลองมโหระทึกตราประทับ และต่างหูลิง-ลิง-โอ เป็นต้น และพบว่าเขาสามแก้วเป็นแหล่งผลิตเครื่องประดับเพื่อเป็นสินค้าส่งออก เช่น กำไลและลูกปัดแบบต่างๆ ที่ทำมาจากหินและแก้ว ได้ค้นพบหินวัตถุดิบซึ่งอยู่ในขั้นตอนการผลิตที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ เช่น ลูกปัดที่ยังไม่ได้เจาะรู, รูที่เจาะไม่เสร็จสมบูรณ์, การขัดฝนยังไม่เสร็จสมบูรณ์ เป็นต้น ลูกปัดที่พบเป็นจำนวนมากในแหล่งเขาสามแก้ว คือ ลูกปัดหินคาร์เนเลี่ยน มีหลายรูปแบบ เช่น วงกลม, ทรงเหลี่ยม, ทรงพระจันทร์เสี้ยว และทรงกระบอก เป็นต้น นักวิชาการผู้ทำการศึกษาแหล่งโบราณคดีเขาสามแก้วให้ข้อคิดเห็นว่า หินคาร์เนเลี่ยนที่พบในแหล่งเขาสามแก้วอาจเป็นหินที่นำมาจากอินเดียเพราะอินเดียมีแหล่งหินคาร์เนเลี่ยนที่มีคุณภาพดีมีสีสันสดใส หรืออาจจะใช้หินวัตถุดิบในท้องถิ่นซึ่งมีสีสันไม่จัดจ้านแล้วใช้วิธีการหุงแร่ซึ่งรับมาจากอินเดีย การหุงแร่จะทำให้หินคาร์เนเลี่ยนมีสีสันสดใสโดดเด่นมากยิ่งขึ้น ถือเป็นการนำเข้าเทคโนโลยีการผลิตลูกปัดจากอินเดีย           จากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่าเขาสามแก้วเป็นเมืองท่าและเป็นแหล่งผลิตลูกปัดที่สำคัญใน พุทธศตวรรษที่ 5-10 มีการติดต่อและรับวิธีการผลิตลูกปัดมาจากอินเดีย กลุ่มคนที่เป็นแรงงานในการผลิตนั้นน่าจะเป็นกลุ่มคนดั้งเดิมในภาคใต้ การก่อตั้งเมืองท่าเขาสามแก้วคงเป็นสื่อกลางและตัวกระตุ้นให้กลุ่มคนดั้งเดิมติดต่อกับกลุ่มคนจากต่างแดนที่มีเทคโนโลยีการผลิตสูงกว่า ทำให้วิถีชีวิตของคนดั้งเดิมในภาคใต้เปลี่ยนแปลงไปและมีพัฒนาการเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ในที่สุด //แหล่งที่พบ : แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว ตำบลนาชะอัง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ปัจจุบัน จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร //เอกสารอ้างอิง : ธราพงศ์ ศรีสุชาติ. “เขาสามแก้ว : ชุมชนโบราณ,” สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ.2529 เล่ม1. กรุงเทพ: สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529. ธราพงศ์ ศรีสุชาติ. “ลูกปัดต่างชาติในแหล่งโบราณคดีประเทศไทย,” ศิลปากร, ปีที่ 33, ฉบับที่ 1 (มีนาคม-เมษายน 2533) 5-19.


ชื่อเรื่อง : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสุโขทัย ผู้แต่ง : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปีที่พิมพ์ : 2544 สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์ : กระทรวงมหาดไทย : กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร


ชื่อเรื่อง : เรียงความยอพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับได้รับรางวัลที่ 1 เริ่มตั้งแต่พุทธศักราช 2467-2499 ชื่อผู้แต่ง : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ : 2510 สถานที่พิมพ์ : พระนคร สำนักพิมพ์ : เจริญผลการพิมพ์ จำนวนหน้า : 308 หน้า สาระสังเขป : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดประกวดการเขียนเรียงความเพื่อเทอดทูนพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2467 และได้รวบรวมเรียงความที่ได้รับรางวัลชนะเลิศนำมาจัดพิมพ์เป็นหนังสือเล่มนี้ ตัวอย่างเรียงความที่ได้รับรางวัลเช่น พระปรีชาญาณในทางวรรณคดีของพระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง โดยนายบัว เพื่องวุฒิ พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงได้ทรงบำรุงพระนครอย่างไรบ้าง โดยนายเยื้อน พานิชวิทย์ การเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัด โดยนางสาวสถาพร ชำนิประสาศน์ และโคลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีรสตรึงใจผู้อ่านดีนัก โดยนางสาวถวิล บุญทรง เป็นต้น


THAI CULTURE, NEW SERIES No. 20THAI TRADITIONAL PAINTING BY Elizabeth Lyons