Search
Thai
English
กรมศิลปากร
The Fine Arts Department
หน้าหลัก
กรมศิลปากร
ประวัติและบทบาทหน้าที่
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ผู้บริหารกรมศิลปากร
ผู้บริหารระดับสูง
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้อำนวยการสำนักส่วนกลาง
ผู้อำนวยการสำนักศิลปากร
CIO
โครงสร้างองค์กร
บุคลากรดีเด่น
ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ
แผนงาน/โครงการ/งบประมาณ
หน่วยงานในสังกัด
บริการประชาชน
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง
อุทยานเสมือนจริง
GIS (ระบบภูมิสารสนเทศแหล่งมรดกศิลปวัฒนธรรม)
NSW (ขอนำเข้า/ส่งออก โบราณวัตถุศิลปวัตถุ)
e-service (จดแจ้งการพิมพ์, ขอเลข ISSN, ISBN, CIP)
คลังข้อมูลดิจิทัล
จำหน่ายบัตรการแสดงออนไลน์
จำหน่ายหนังสือกรมศิลปากร
ศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม
ระบบสืบค้นเอกสารจดหมายเหตุ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ
อื่นๆ
คู่มือและมาตรฐานกรมศิลปากร
เอกสารดาวน์โหลด
แบบสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการ Virtual Museum / Virtual Historical Park
แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการ-เข้าชม (สำหรับครู-นักเรียน)
แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการผ่านช่องทางออนไลน์ของกรมศิลปากร
แจ้งและร้องเรียน
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
แบบสำรวจความพึงพอใจ
แหล่งเรียนรู้
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุทยานประวัติศาสตร์
หอสมุดแห่งชาติ
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ข่าวและกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครงาน
จัดซื้อจัดจ้าง
ข่าว Feed
นิทรรศการ
นิทรรศการตู้พระธรรม
คลังวิชาการ
องค์ความรู้
ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
ด้านภาษาและหนังสือ
ด้านเอกสารจดหมายเหตุ
ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
ด้านสถาปัตยกรรมและช่างศิลป์
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
ความรู้ด้านภาษา หนังสือ และเอกสาร
ความรู้ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
ความรู้สถาปัตยกรรมและช่างศิลป์
วีดิทัศน์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์.
คลังภาพทรงคุณค่า
กฏระเบียบ
กฎหมายและระเบียบ
ITA
ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
องค์กรคุณธรรม
กระดานถาม-ตอบ
ติดต่อ
ITA.
หน้าแรก
คลังวิชาการ
ความรู้ทั่วไป
เขาภูปลาร้า (เขาปลาร้า)
เขาภูปลาร้า (เขาปลาร้า)
ที่ตั้ง :
ตำบลลานสัก อำเภอลานสัก,หนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี
สิ่งสำคัญ :
แหล่งภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์
ประวัติและความสำคัญ :
เป็นแหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าเป็นสถานที่ที่มนุษย์เมื่อประมาณ ๕,๐๐๐ – ๓,๐๐๐ ปีมาแล้วเขียนภาพเขียนสีที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตมนุษย์ในชุมชนบริเวณภูปลาร้าได้เป็นอย่างดี ว่ามีลักษณะชุมชนในสังคมเกษตรกรรมที่มีแบบแผนและพิธีกรรม ภาพที่พบได้แก่ ภาพสัตว์เลี้ยง ภาพคนจูงวัว ภาพขบวนแห่เป็นต้น สภาพปัจจุบัน : ภาพเขียนสีบนเพิงผายังคงอยู่ในสภาพดี พื้นที่โบราณสถาน : ๑๓,๒๔๗ ไร่ ๓ งาน ๔๖ ตารางวา ลักษณะรูปแบบศิลปกรรม : ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ลักษณะการถือครองที่ดินหรือผู้ดูแล : กรมศิลปากร การขึ้นทะเบียน : ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๐ง วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๓๗
สงวนลิขสิทธิ์ © 2563 กรมศิลปากร. กระทรวงวัฒนธรรม -
นโยบายเว็บไซต์
|
มาตรฐาน