บริการ
# | ชื่อเอกสาร | ชนิดไฟล์ | ขนาดไฟล์ | |
---|---|---|---|---|
1 | เเบบขอทำสำเนาเอกสารจดหมายเหตุประเภทลายลักษณ์.pdf | 0.04 Mb | Download | |
2 | รายละเอียดเอกสารจดหมายเหตุที่ต้องการทำสำเนาจากไมโครฟิล์ม.pdf | 0.02 Mb | Download | |
3 | การเขียนอ้างอิงเอกสารจดหมายเหตุ.pdf | 0.03 Mb | Download | |
4 | แบบขอทำสำเนาเอกสารจดหมายเหตุประเภทโสตทัศนจดหมายเหตุ แบบแปลน แผนที่ แผนผัง วัสดุคอมพิวเตอร์.pdf | 0.08 Mb | Download | |
5 | ระเบียบกรมศิลปากรว่าด้วยการให้บริการแก่ประชาชนของหอจดหมายเหตุแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๔.pdf | 0.38 Mb | Download | |
6 | แบบสำรวจความพึงพอใจต่อการให้บริการของกรมศิลปากร กรณีศึกษาตัวอย่างผู้ใช้บริการเยี่ยมชมหน่วยงานให้บริการในสังกัดกรมศิลปากร ปีงบประมาณ ๒๕๖๕.pdf | 0.05 Mb | Download |
# | หัวข้อแบบสำรวจ | ระยะเวลาการตอบแบบสำรวจ |
---|---|---|
1 | แบบสำรวจความพึงพอใจต่อการให้บริการของกรมศิลปากร กรณีศึกษาตัวอย่างผู้ใช้บริการเยี่ยมชมหน่วยงานให้บริการในสังกัดกรมศิลปากร ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ | วันที่ 14 พ.ย. 65 |
รายการทั้งหมด 1 รายการ
บริหารเอกสาร
ขั้นตอนการทำลายเอกสาร ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ. 2526 ข้อ 66-70 ได้กำหนดขั้นตอนการทำลายเอกสาร ซึ่งสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้
1.สำรวจเอกสารที่จะทำลาย ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นปีปฏิทิน ให้เจ้าหน้าที่
ผู้รับผิดชอบในการเก็บเอกสาร ดำเนินการสำรวจเอกสารที่สิ้นกระแสการใช้งาน
และครบอายุการเก็บรักษาตามที่กฎหมายหรือระเบียบกำหนด
2.การจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลาย ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำบัญชีหนังสือ
ขอทำลายตามแบที่ 25 ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.2526 โดยจัดทำอย่างน้อย 2 ฉบับ คือ ต้นฉบับและสำเนาคู่ฉบับ
เพื่อเก็บไว้ที่หน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่อง 1 ฉบับ และส่งมอบ
ให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร พิจารณา 1 ฉบับ
2.1 การลงรายการในบัญชีหนังสือขอทำลาย
(1) ชื่อบัญชีขอทำลายประจำปี ให้ลงเลขของปี พ.ศ. ที่จัดทำบัญชี
(2) กระทรวง ทบวง กรม กอง ให้ลงชื่อส่วนราชการที่จัดทำบัญชี
(3) วันที่ ให้ลงวันที่ที่จัดทำบัญชี
(4) แผ่นที่ ให้ลงลำดับของแผ่นที่
(5) ลำดับที่ ให้ลงเลขลำดับของเรื่องที่ขอทำลาย
(6) รหัสแฟ้ม ให้ลงหมายเลขรหัสหมวดหมู้ของแฟ้มเอกสาร
(7) ที่ ให้ลงเลขของหนังสือแต่ละฉบับ
(8) ลงวันที่ ให้ลง วัน เดือน ปี ของหนังสือแต่ละฉบับ
(9) เลขทะเบียนรับ ให้ลงเลขทะเบียนรับของหนังสือแต่ละฉบับ
(10) เรื่อง ให้ลงชื่อเรื่องของหนังสือแต่ละฉบับ
(11) การพิจารณา ให้คณะกรรมการทำลายเอกสารลงผลการพิจาณา
(12) หมายเหตุ ให้ลงข้อความอื่นใด (ถ้ามี) เช่น ความเห็นแย้ง
เห็นสมควรขยายเวลา ในกรณีขยายเวลาขยายเวลา ให้ระบุระยะเวลาที่ขอขยายเวลา
และปี พ.ศ. ที่ครบกำหนดเวลาไว้ ทั้งในบัญชีและบนปกแฟ้มหรือบนปกเอกสารแต่ละฉบับ
2.2 การลงบัญชีหนังสือขอทำลาย กรณีส่วนราชการมีระบบจัดเก็บเอกสาร
และประสงค์จะขอทำลายทั้งแฟ้มเรื่อง ให้ลงรายการในบัญชีหนังสือขอทำลาย ดังนี้
(1) ลำดับที่ ให้ลงลำดับที่แฟ้มที่จะขอทำลาย
(2) รหัสแฟ้ม ให้ลงหมายเลขรหัสหมวดหมู่ของแฟ้ม
(3) ที่ เรื่อง ให้เว้นว่าง ไม่ต้องลงรายละเอียด
(4) ลงวันที่ ให้ลงวัน/เดือน/ปี พ.ศ. ที่เปิดปิดแฟ้ม
เช่น 2 มกราคม - 29 ธันวาคม 2560
(5) เลขทะเบียนรับ ให้เว้นว่าง ไม่ต้องลงรายละเอียด
(6) เรื่อง ให้ลงชื่อเรื่องแฟ้มเอกสาร
(7) การพิจารณา ให้คณะกรรมการทำลายเอกสารลงผลการพิจารณา
(8) หมายเหตุ ให้ลงข้อความอื่นใด(ถ้ามี)
3.การแจ้งผลการสำรวจให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
พิจารณา
เมื่อจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ในกรณีราชการส่วนกลางให้จัดทำ
บันทึกเสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม หรือในกรณีราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ให้เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด พร้อมบัญชีหนังสือขอทำลาย และเสนอรายชื่อ
คณะกรรมการทำลายเอกสาร
4.หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการ
ทำลายเอกสาร
คณะกรรมการทำลายเอกสารประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และคณะกรรมการ
อย่างน้อย 2 คน รวม 3 คน ก็ได้ คณะกรรมการทำลายเอกสารโดยปกติให้แต่งตั้ง
จากข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
หน้าที่ของคณะกรรมการทำลายเอกสาร
(1)พิจารณาเอกสารที่ขอทำลายตามบัญชีหนังสือขอทำลาย การพิจารณามี 2 กรณี
คือ ควรทำลาย ให้ทำเครื่องหมาย (x) ในช่องการพิจารณาในบัญชีหนังสือขอทำลาย
ไม่ควรทำลาย ในกรณีขยายเวลาการเก็บหรือห้ามทำลาย ให้แก้ไขอายุการเก็บ
หรือระบุไว้ว่า "ห้ามทำลาย" ในช่องการพิจารณาในบัญชีหนังสือขอทำลาย
โดยให้ประธานกรรมการทำลายหนังสือลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข
(2)รายงานผลการพิจาณา ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
พิจารณาสั่งการต่อไป
(3)เมื่อได้รับอนุมัติให้ทำลายหนังสือแล้ว รายงานผู้อนุมัติทราบ
5.การพิจารณาสั่งการของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
เมื่อหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัดได้รับรายงานการขอทำลาย
เอกสารจากหน่วยงานของรัฐให้ดำเนินการ ดังนี้
5.1 หากพิจารณาเห็นว่าหนังสือฉบับใดควรขยายเวลาการเก็บหรือห้ามทำลาย
ให้สั่งการส่วนราชการที่ขอทำลายเก็บเอกสารไว้ต่อไปจนกว่าจะครบระยะเวลาทำลาย
5.2 หากพิจารณาเห็นว่าหนังสือฉบับใดควรทำลาย ให้ส่งบัญชีหนังสือขอทำลาย
ให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร พิจารณาก่อน เว้นแต่เอกสารที่ได้รับ
ความตกลงเป็นหลักการไว้กับสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ส่วนราชการไม่ต้องส่งเรื่อง
ให้พิจารณา แต่จะส่งสำเนาเรื่องแจ้งผลการดำเนินการทำลายเอกสารตามข้อตกลง
เพื่อให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เก็บไว้เป็นสถิติการทำลายเอกสารต่อไป
6.ผลการพิจารณาของสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาคัดเลือกเอกสารประวัติศาสตร์จาก
บัญชีหนังสือขอทำลายส่วนราชการส่งมาภายใน 60 วัน ในกรณีที่ต้องการข้อมูล
ประกอบการพิจารณาเพิ่มเติม สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ อาจส่ง
นักจดหมายเหตุไปสำรวจเอกสารหรือประสานขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม
ผลการพิจารณาของสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ มี 2 กรณี คือ
6.1 ขอสงวนเอกสารประวัติศาสตร์ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
จะมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาขอสงวนเอกสารประวัติศาสตร์ทั้งหมดหรือบางส่วน
ให้หน่วยงานของรัฐทราบและให้หน่วยงานขิงรัฐดำเนินการส่งมอบเอกสารประวัติศาสตร์
ที่ขอสงวนตามรายการที่ระบุไปในหนังสือให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
6.2 เห็นชอบให้ทำลายเอกสาร สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
พิจารณาบัญชีหนังสือขอทำลายแล้วไม่ประสงค์จะสงวนเอกสาร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จะมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาให้หน่วยงาน
ของรัฐดำเนินการทำลายเอกสารนั้นได้ตามระเบียบต่อไป
พ.ศ. 2526 ข้อ 66-70 ได้กำหนดขั้นตอนการทำลายเอกสาร ซึ่งสรุปสาระสำคัญได้ ดังนี้
1.สำรวจเอกสารที่จะทำลาย ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นปีปฏิทิน ให้เจ้าหน้าที่
ผู้รับผิดชอบในการเก็บเอกสาร ดำเนินการสำรวจเอกสารที่สิ้นกระแสการใช้งาน
และครบอายุการเก็บรักษาตามที่กฎหมายหรือระเบียบกำหนด
2.การจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลาย ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำบัญชีหนังสือ
ขอทำลายตามแบที่ 25 ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.2526 โดยจัดทำอย่างน้อย 2 ฉบับ คือ ต้นฉบับและสำเนาคู่ฉบับ
เพื่อเก็บไว้ที่หน่วยงานของรัฐเจ้าของเรื่อง 1 ฉบับ และส่งมอบ
ให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร พิจารณา 1 ฉบับ
2.1 การลงรายการในบัญชีหนังสือขอทำลาย
(1) ชื่อบัญชีขอทำลายประจำปี ให้ลงเลขของปี พ.ศ. ที่จัดทำบัญชี
(2) กระทรวง ทบวง กรม กอง ให้ลงชื่อส่วนราชการที่จัดทำบัญชี
(3) วันที่ ให้ลงวันที่ที่จัดทำบัญชี
(4) แผ่นที่ ให้ลงลำดับของแผ่นที่
(5) ลำดับที่ ให้ลงเลขลำดับของเรื่องที่ขอทำลาย
(6) รหัสแฟ้ม ให้ลงหมายเลขรหัสหมวดหมู้ของแฟ้มเอกสาร
(7) ที่ ให้ลงเลขของหนังสือแต่ละฉบับ
(8) ลงวันที่ ให้ลง วัน เดือน ปี ของหนังสือแต่ละฉบับ
(9) เลขทะเบียนรับ ให้ลงเลขทะเบียนรับของหนังสือแต่ละฉบับ
(10) เรื่อง ให้ลงชื่อเรื่องของหนังสือแต่ละฉบับ
(11) การพิจารณา ให้คณะกรรมการทำลายเอกสารลงผลการพิจาณา
(12) หมายเหตุ ให้ลงข้อความอื่นใด (ถ้ามี) เช่น ความเห็นแย้ง
เห็นสมควรขยายเวลา ในกรณีขยายเวลาขยายเวลา ให้ระบุระยะเวลาที่ขอขยายเวลา
และปี พ.ศ. ที่ครบกำหนดเวลาไว้ ทั้งในบัญชีและบนปกแฟ้มหรือบนปกเอกสารแต่ละฉบับ
2.2 การลงบัญชีหนังสือขอทำลาย กรณีส่วนราชการมีระบบจัดเก็บเอกสาร
และประสงค์จะขอทำลายทั้งแฟ้มเรื่อง ให้ลงรายการในบัญชีหนังสือขอทำลาย ดังนี้
(1) ลำดับที่ ให้ลงลำดับที่แฟ้มที่จะขอทำลาย
(2) รหัสแฟ้ม ให้ลงหมายเลขรหัสหมวดหมู่ของแฟ้ม
(3) ที่ เรื่อง ให้เว้นว่าง ไม่ต้องลงรายละเอียด
(4) ลงวันที่ ให้ลงวัน/เดือน/ปี พ.ศ. ที่เปิดปิดแฟ้ม
เช่น 2 มกราคม - 29 ธันวาคม 2560
(5) เลขทะเบียนรับ ให้เว้นว่าง ไม่ต้องลงรายละเอียด
(6) เรื่อง ให้ลงชื่อเรื่องแฟ้มเอกสาร
(7) การพิจารณา ให้คณะกรรมการทำลายเอกสารลงผลการพิจารณา
(8) หมายเหตุ ให้ลงข้อความอื่นใด(ถ้ามี)
3.การแจ้งผลการสำรวจให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
พิจารณา
เมื่อจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ในกรณีราชการส่วนกลางให้จัดทำ
บันทึกเสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม หรือในกรณีราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ให้เสนอผู้ว่าราชการจังหวัด พร้อมบัญชีหนังสือขอทำลาย และเสนอรายชื่อ
คณะกรรมการทำลายเอกสาร
4.หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการ
ทำลายเอกสาร
คณะกรรมการทำลายเอกสารประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และคณะกรรมการ
อย่างน้อย 2 คน รวม 3 คน ก็ได้ คณะกรรมการทำลายเอกสารโดยปกติให้แต่งตั้ง
จากข้าราชการระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
หน้าที่ของคณะกรรมการทำลายเอกสาร
(1)พิจารณาเอกสารที่ขอทำลายตามบัญชีหนังสือขอทำลาย การพิจารณามี 2 กรณี
คือ ควรทำลาย ให้ทำเครื่องหมาย (x) ในช่องการพิจารณาในบัญชีหนังสือขอทำลาย
ไม่ควรทำลาย ในกรณีขยายเวลาการเก็บหรือห้ามทำลาย ให้แก้ไขอายุการเก็บ
หรือระบุไว้ว่า "ห้ามทำลาย" ในช่องการพิจารณาในบัญชีหนังสือขอทำลาย
โดยให้ประธานกรรมการทำลายหนังสือลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข
(2)รายงานผลการพิจาณา ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
พิจารณาสั่งการต่อไป
(3)เมื่อได้รับอนุมัติให้ทำลายหนังสือแล้ว รายงานผู้อนุมัติทราบ
5.การพิจารณาสั่งการของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
เมื่อหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือผู้ว่าราชการจังหวัดได้รับรายงานการขอทำลาย
เอกสารจากหน่วยงานของรัฐให้ดำเนินการ ดังนี้
5.1 หากพิจารณาเห็นว่าหนังสือฉบับใดควรขยายเวลาการเก็บหรือห้ามทำลาย
ให้สั่งการส่วนราชการที่ขอทำลายเก็บเอกสารไว้ต่อไปจนกว่าจะครบระยะเวลาทำลาย
5.2 หากพิจารณาเห็นว่าหนังสือฉบับใดควรทำลาย ให้ส่งบัญชีหนังสือขอทำลาย
ให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร พิจารณาก่อน เว้นแต่เอกสารที่ได้รับ
ความตกลงเป็นหลักการไว้กับสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ส่วนราชการไม่ต้องส่งเรื่อง
ให้พิจารณา แต่จะส่งสำเนาเรื่องแจ้งผลการดำเนินการทำลายเอกสารตามข้อตกลง
เพื่อให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เก็บไว้เป็นสถิติการทำลายเอกสารต่อไป
6.ผลการพิจารณาของสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ มีหน้าที่พิจารณาคัดเลือกเอกสารประวัติศาสตร์จาก
บัญชีหนังสือขอทำลายส่วนราชการส่งมาภายใน 60 วัน ในกรณีที่ต้องการข้อมูล
ประกอบการพิจารณาเพิ่มเติม สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ อาจส่ง
นักจดหมายเหตุไปสำรวจเอกสารหรือประสานขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม
ผลการพิจารณาของสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ มี 2 กรณี คือ
6.1 ขอสงวนเอกสารประวัติศาสตร์ สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
จะมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาขอสงวนเอกสารประวัติศาสตร์ทั้งหมดหรือบางส่วน
ให้หน่วยงานของรัฐทราบและให้หน่วยงานขิงรัฐดำเนินการส่งมอบเอกสารประวัติศาสตร์
ที่ขอสงวนตามรายการที่ระบุไปในหนังสือให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
6.2 เห็นชอบให้ทำลายเอกสาร สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
พิจารณาบัญชีหนังสือขอทำลายแล้วไม่ประสงค์จะสงวนเอกสาร
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จะมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาให้หน่วยงาน
ของรัฐดำเนินการทำลายเอกสารนั้นได้ตามระเบียบต่อไป
เอกสารจดหมายเหตุและบริการ
1. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด ภ สข สบ 1 นางสาวกษมาณัชญ์ นิติยารมย์ (รหัสดิจิทัล na04d-img001) 2. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด ภ สข สบ 2 นายสาคร จันทมณีโชติ (รหัสดิจิทัล na04d-img002) 3. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด ภ สข สบ 3 นายจรัส จันทร์พรหมรัตน์ (รหัสดิจิทัล na04d-img003) 4. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด ภ สข สบ 4 นายอัมพร จังคุณากร (รหัสดิจิทัล na04d-img004) 5. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด ภ สข สบ 5 นายอนันต์ คำเรืองศรี (รหัสดิจิทัล na04d-img005) 6. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด (2) ภ สข สบ 5 นายอนันต์ คำเรืองศรี (รหัสดิจิทัล na04d-img006) 7. เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ชุด ภ (2) สข (อ) ภาพรับมอบโครงการรวบรวมเอกสารประวัติศาสตร์ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สงขลา (รหัสดิจิทัล na04d-img008) 8. เอกสารลายลักษณ์ ชุด สฎ 0016 กระทรวงมหาดไทยมณฑลชุมพร จังหวัดสุราษฎร์ธานี (รหัสดิจิทัล na04d-tex001) 9. เอกสารลายลักษณ์ ชุด (6) กค 3 เอกสารกระทรวงการคลัง สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 9 (รหัสดิจิทัล na04d-tex003) 10. เอกสารลายลักษณ์ ชุด (12) ศธ 2 เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา (รหัสดิจิทัล na04d-tex005) 11. เอกสาร แผนที่ แผนผัง แบบแปลน ชุด ผ หจช สข สข ศธ 13 สำนักศิลปากรที่ 13 สงขลา (รหัสดิจิทัล na04d-cat004) 12. เอกสาร โสตทัศนจดหมายเหตุ (ฟิล์มเนกาทีฟ) ชุด ฟ หจช สข สบ 1 นายธนู แก่นทับทิม (ภาพข่าวเหตุการณ์สำคัญจังหวัดชุมพร) (รหัสดิจิทัล na04d-neg001) 13. เอกสาร โสตทัศนจดหมายเหตุ (ฟิล์มเนกาทีฟ) ชุด ฟ หจช สข สศก 12 สำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช (รหัสดิจิทัล na04d-neg002) ดูรายละเอียดเพิ่มเติม : https://www.finearts.go.th/songkhlaarchives/
categorie/valuable-gallery
เอกสารขึ้นทะเบียนมรดกความทรงจําแห่งโลกของประเทศไทย
มี 5 รายการ ได้แก่
1. ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ 1
(The King Ram Khamhaeng Inscription)
2. จารึกวัดโพธิ์
Epigraphic Archives of Wat Pho
3. เอกสารการปฏิรูปราชการแผ่นดินในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(เอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ของรัชกาลที่ 5)
(พ.ศ. 2411 – 2453)
4. บันทึกการประชุมของคณะกรรมการสยามสมาคม
ในพระบรมราชชูปถัมภ์ ในรอบ 100 ปี
(The Minute Books of the Council of The
Siam Society 100 years of recording
international of knowledge
in the arts and sciences)
5. ฟิล์มกระจกและภาพต้นฉบับชุดหอพระสมุดวชิรญาณ
(The Royal Photographic Glass Plate Negatives
and Original Prints Collection)
ศึกษาเพิ่มเติม : https://www.nat.go.th/mow
and Original Prints Collection)
ศึกษาเพิ่มเติม : https://www.nat.go.th/mow
อนุรักษ์และสงวนรักษา
ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความชำรุดของเอกสารจดหมายเหตุ
แบ่งได้ 2 ประการ
1. ปัจจัยภายใน เป็นการเสื่อมชำรุดจากตัววัสดุเอง เช่น
สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิต
2. ปัจจัยภายนอก เป็นการเสื่อมชำรุดจากสิ่งแวดล้อม
โดยรอบตัวเอกสาร
2.1 มนุษย์ เป็นศัตรูสำคัญที่ทำให้เกิดการชำรุดเสื่อมสภาพ
โดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ เช่น
- สะเพร่า มักง่าย ละเลย ไม่ดูแลรักษา
- ไม่ระมัดระวังในการหยิบยก จับถือ เคลื่อนย้าย
- เมื่อชำรุดซ่อมโดยไม่ถูกต้อง
- รับประทานอาหารเเล้วมาจับโดยไม่ล้างมือ
- ขีดเส้นใต้หรือเขียนข้อความเพิ่มเติม
- พับมุมทำเครื่องหมายหน้าที่อ่านค้าง
- ใช้เทปกาวซ่อมเอกสารที่ฉีกขาด ซึ่งผ่านกาลเวลา
จะเกิดรอยเปื้อนบนกระดาาขจัดออกได้ยาก
เเละลอกเทปกาวออกทำให้ฉีกขาดมากขึ้น
2.2 แมลง เช่น เเมลงสามง่าม ปลวก แมลงสาป หนอนหนังสือ
กัดเป็นรอยแหว่ง รอยพรุน รูโหว่ และรอยเปื้อนทางเดินปลวก
2.3 สัตว์อื่น ๆ นก หนู ค้างคาว ต่างมีบทบาททำลายทั้งทางตรงเเละ
ทางอ้อม โดย หนู มีฟันแหลมคมที่กัดทำลายเอกสาร
มูลของนกและค้างคาว ทำให้วัสดุสกปรก เปรอะเปื้อน สึกกร่อน
และมีกลิ่นเหม็น นกยังเป็นพาหะนำเเมลงหลายชนิดเข้ามาภายในอาคาร
2.4 จุลินทรีย์ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าต้องตรวจสอบ
กล้องจุลทรรศน์ จุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญในการทำลายเอกสาร
เสื่อมสภาพ ได้เเก่ รา พบว่ามีการเจริญเติบโตในที่มีความชื้นสูง
ทำให้กระดาษหมดความเหนียว ความเเข็งแรง กลายเป็นกระดาษ
ที่เปื่อยยุ่ย ฉีกขาดง่าย
2.5 อุณหภูมิและความชื้น มีความสัมพันธ์เเละเกี่ยวเนื่องกัน
อุณหภูมิ สูง ความชื้นสัมพัทธ์ ต่ำลง กระดาษกรอบ
อุณหภูมิ ต่ำ ความชื้นสัมพัทธ์ สูงขึ้น กระดาษอ่อนนุ่ม ฉีกขาดง่าย
จึงกำหนดอุณหภูมิ 55-70 องศาฟาเรนไฮต์
เเละความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 55 เปอร์เซนต์
2.6 แสงสว่าง ทั้งแสงแดดและแสงสว่างจากหลอดไฟทำให้เอกสาร
ชำรุดเสื่อมสภาพได้ แต่แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าไม่รุนแรงเท่า
แสงแดด ซึ่งส่งผลทำให้กระดาษเปลี่ยนสี ขาดความเเข็งแรง กรอบ
เปราะ ฟอกจางสีหมึกที่ใช้เขียนหรือพิมพ์
2.7 ก๊าซต่างๆ ในบรรยากาศมีก๊าซต่่างๆ ปะปนอยู่มาก มีผลกระทบสำคัญ
ทำให้เกิดชำรุดเสื่อมสภาพ คาร์บอนไดออกไซด์ CO₂
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SO₂ ไนโตรเจนไดออกไซด์ NO₂ ออกซิเจน O₂
โอโซน O₃ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ H₂S
2.8 ฝุ่นละออง ในบรรยากาศมีฝุ่นละอองเเละอนุภาคแขวนลอย ทำให้
เอกสารเสื่อมสภาพได้ ฝุ่นละอองที่มีอนุภาคใหญ่ หรือแหลมคม
ทำให้เอกสารสึกกร่อน จากการ ขัด สี ครูด ถู ฝุ่นละอองที่มีเขม่า
หรือควันจะมียางเหนียวๆ และยังเป็นแหล่งสะสมให้เกาะติดเพิ่ม
มากขึ้น
สำหรับหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา
ตั้งอยู่ในภาคใต้ ยังได้รับความชื้นจากฝนตกชุกในพื้นที่และ
ฝุ่นละอองที่มีเกลือปะปนมากับไอเค็มจากชายทะเล
ที่พัดมาตามลม เมื่อบรรยากาศมีความชื้นสูง ฝุ่นละอองจะดูด
ความชื้นเข้ามาทำให้วัสดุชื้น เเละทำให้เกิดปฏิกิริยาที่ส่งผลต่อ
การเสื่อมสภาพของเอกสาร
ทั้งนี้เอกสารที่จัดเก็บภายในหน่วยงานราชการใกล้ชายทะเล
ได้รับผลกระทบมากกว่าเอกสารที่เก็บในพื้นที่อื่น ๆ
ที่มา : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ
หน้า 282-283
แบ่งได้ 2 ประการ
1. ปัจจัยภายใน เป็นการเสื่อมชำรุดจากตัววัสดุเอง เช่น
สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิต
2. ปัจจัยภายนอก เป็นการเสื่อมชำรุดจากสิ่งแวดล้อม
โดยรอบตัวเอกสาร
2.1 มนุษย์ เป็นศัตรูสำคัญที่ทำให้เกิดการชำรุดเสื่อมสภาพ
โดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ เช่น
- สะเพร่า มักง่าย ละเลย ไม่ดูแลรักษา
- ไม่ระมัดระวังในการหยิบยก จับถือ เคลื่อนย้าย
- เมื่อชำรุดซ่อมโดยไม่ถูกต้อง
- รับประทานอาหารเเล้วมาจับโดยไม่ล้างมือ
- ขีดเส้นใต้หรือเขียนข้อความเพิ่มเติม
- พับมุมทำเครื่องหมายหน้าที่อ่านค้าง
- ใช้เทปกาวซ่อมเอกสารที่ฉีกขาด ซึ่งผ่านกาลเวลา
จะเกิดรอยเปื้อนบนกระดาาขจัดออกได้ยาก
เเละลอกเทปกาวออกทำให้ฉีกขาดมากขึ้น
2.2 แมลง เช่น เเมลงสามง่าม ปลวก แมลงสาป หนอนหนังสือ
กัดเป็นรอยแหว่ง รอยพรุน รูโหว่ และรอยเปื้อนทางเดินปลวก
2.3 สัตว์อื่น ๆ นก หนู ค้างคาว ต่างมีบทบาททำลายทั้งทางตรงเเละ
ทางอ้อม โดย หนู มีฟันแหลมคมที่กัดทำลายเอกสาร
มูลของนกและค้างคาว ทำให้วัสดุสกปรก เปรอะเปื้อน สึกกร่อน
และมีกลิ่นเหม็น นกยังเป็นพาหะนำเเมลงหลายชนิดเข้ามาภายในอาคาร
2.4 จุลินทรีย์ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก มองไม่เห็นด้วยตาเปล่าต้องตรวจสอบ
กล้องจุลทรรศน์ จุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญในการทำลายเอกสาร
เสื่อมสภาพ ได้เเก่ รา พบว่ามีการเจริญเติบโตในที่มีความชื้นสูง
ทำให้กระดาษหมดความเหนียว ความเเข็งแรง กลายเป็นกระดาษ
ที่เปื่อยยุ่ย ฉีกขาดง่าย
2.5 อุณหภูมิและความชื้น มีความสัมพันธ์เเละเกี่ยวเนื่องกัน
อุณหภูมิ สูง ความชื้นสัมพัทธ์ ต่ำลง กระดาษกรอบ
อุณหภูมิ ต่ำ ความชื้นสัมพัทธ์ สูงขึ้น กระดาษอ่อนนุ่ม ฉีกขาดง่าย
จึงกำหนดอุณหภูมิ 55-70 องศาฟาเรนไฮต์
เเละความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 55 เปอร์เซนต์
2.6 แสงสว่าง ทั้งแสงแดดและแสงสว่างจากหลอดไฟทำให้เอกสาร
ชำรุดเสื่อมสภาพได้ แต่แสงสว่างจากหลอดไฟฟ้าไม่รุนแรงเท่า
แสงแดด ซึ่งส่งผลทำให้กระดาษเปลี่ยนสี ขาดความเเข็งแรง กรอบ
เปราะ ฟอกจางสีหมึกที่ใช้เขียนหรือพิมพ์
2.7 ก๊าซต่างๆ ในบรรยากาศมีก๊าซต่่างๆ ปะปนอยู่มาก มีผลกระทบสำคัญ
ทำให้เกิดชำรุดเสื่อมสภาพ คาร์บอนไดออกไซด์ CO₂
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ SO₂ ไนโตรเจนไดออกไซด์ NO₂ ออกซิเจน O₂
โอโซน O₃ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ H₂S
2.8 ฝุ่นละออง ในบรรยากาศมีฝุ่นละอองเเละอนุภาคแขวนลอย ทำให้
เอกสารเสื่อมสภาพได้ ฝุ่นละอองที่มีอนุภาคใหญ่ หรือแหลมคม
ทำให้เอกสารสึกกร่อน จากการ ขัด สี ครูด ถู ฝุ่นละอองที่มีเขม่า
หรือควันจะมียางเหนียวๆ และยังเป็นแหล่งสะสมให้เกาะติดเพิ่ม
มากขึ้น
สำหรับหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา
ตั้งอยู่ในภาคใต้ ยังได้รับความชื้นจากฝนตกชุกในพื้นที่และ
ฝุ่นละอองที่มีเกลือปะปนมากับไอเค็มจากชายทะเล
ที่พัดมาตามลม เมื่อบรรยากาศมีความชื้นสูง ฝุ่นละอองจะดูด
ความชื้นเข้ามาทำให้วัสดุชื้น เเละทำให้เกิดปฏิกิริยาที่ส่งผลต่อ
การเสื่อมสภาพของเอกสาร
ทั้งนี้เอกสารที่จัดเก็บภายในหน่วยงานราชการใกล้ชายทะเล
ได้รับผลกระทบมากกว่าเอกสารที่เก็บในพื้นที่อื่น ๆ
ที่มา : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ
หน้า 282-283
บันทึกเหตุการณ์
1. วิเคราะห์ประเมินเหตุการณ์
2. ศึกษาภูมิหลังเเละประวัติ
3. ลงมือบันทึกเหตุการณ์
4. รวบรวมเอกสารและโสตทัศน์
5. เรียบเรียงต้นฉบับบันทึกเหตุการณ์สำคัญ
6. การจัดพิมพ์
7. เผยเเพร่
8. ประเมินคุณค่าเเละคัดเลือกเอกสารโสตทัศน์
9. การทำลาย จัดหมวดหมู่เเละทำเครื่องมือช่วยค้นคว้า
10. ส่งมอบกลุ่มอนุรักษ์เอกสารและกลุ่มเอกสาร
จดหมายเหตุและบริการ
ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหาร
และจัดการงานจดหมายเหตุหน้า 239-281
ที่มา : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ
2. ศึกษาภูมิหลังเเละประวัติ
3. ลงมือบันทึกเหตุการณ์
4. รวบรวมเอกสารและโสตทัศน์
5. เรียบเรียงต้นฉบับบันทึกเหตุการณ์สำคัญ
6. การจัดพิมพ์
7. เผยเเพร่
8. ประเมินคุณค่าเเละคัดเลือกเอกสารโสตทัศน์
9. การทำลาย จัดหมวดหมู่เเละทำเครื่องมือช่วยค้นคว้า
10. ส่งมอบกลุ่มอนุรักษ์เอกสารและกลุ่มเอกสาร
จดหมายเหตุและบริการ
ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหาร
และจัดการงานจดหมายเหตุหน้า 239-281
ที่มา : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ
ทั่วไป
6 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา เเละสตูล
มีความหมาย 3 ประการคือ
1. เอกสารต้นฉบับ (Original) ซึ่งสิ้นกระแสปฏิบัติงานของหน่วยงานรัฐ
ส่วนราชการ หรือ เอกสารส่วนบุคคล ที่ผ่านการวินิจฉัยว่ามีคุณค่าสมควรเก็บไว้
ตลอดไป เอกสารสำคัญนี้เรียกว่า เอกสารจดหมายเหตุ (Archives Materials)
2. หน่วยงานที่มีหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ สงวนรักษา และให้บริการเอกสารจดหมายเหตุ
เรียกว่า หน่วยงานจดหมายเหตุ (Archives Agency)
3. อาคาร หรือ ส่วนของอาคารที่เก็บรักษาเอกสารจดหมายเหตุ เรียกว่า
หอจดหมายเหตุ (Archives Repository)
ที่มา : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ หน้า 3
1. เอกสารต้นฉบับ (Original) ซึ่งสิ้นกระแสปฏิบัติงานของหน่วยงานรัฐ
ส่วนราชการ หรือ เอกสารส่วนบุคคล ที่ผ่านการวินิจฉัยว่ามีคุณค่าสมควรเก็บไว้
ตลอดไป เอกสารสำคัญนี้เรียกว่า เอกสารจดหมายเหตุ (Archives Materials)
2. หน่วยงานที่มีหน้าที่รวบรวม จัดเก็บ สงวนรักษา และให้บริการเอกสารจดหมายเหตุ
เรียกว่า หน่วยงานจดหมายเหตุ (Archives Agency)
3. อาคาร หรือ ส่วนของอาคารที่เก็บรักษาเอกสารจดหมายเหตุ เรียกว่า
หอจดหมายเหตุ (Archives Repository)
ที่มา : คู่มือวิชาการพื้นฐานการบริหารและจัดการงานจดหมายเหตุ หน้า 3
มาตรา 13 หอจดหมายเหตุแห่งชาติมีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) เก็บรักษาและอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ
(2) ติดตาม รวบรวม หรือรับมอบเอกสารจดหมายเหตุจากหน่วยงานของรัฐ
(3) จัดหา ซื้อ หรือรับบริจาคเอกสารที่มีคุณค่าเป็นเอกสารจดหมายเหตุจากเอกชน
(4) จัดหมวดหมู่และจัดทําเครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ
(5) จดบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพระราชพิธี รัฐพิธี และศาสนพิธี
(6) รวบรวมเอกสารเหตุการณ์สําคัญของชาติ
(7) จัดทําบันทึกประวัติศาสตร์บอกเล่าโดยพิจารณาให้ครอบคลุมข้อเท็จจริง
อย่างรอบด้าน
(8) ให้บริการการศึกษา การค้นคว้า หรือการวิจัยเอกสารจดหมายเหตุ
(9) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ จัดให้มีสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ นิทรรศการ
และกิจกรรม เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ
(10) สนับสนุนด้านวิชาการแก่หอจดหมายเหตุของหน่วยงานของรัฐ
หอจดหมายเหตุท้องถิ่น และหอจดหมายเหตุเอกชน
(11) ดําเนินการอื่นตามที่อธิบดีมอบหมาย
ที่มา : พระราชบัญญัติจดหมายเหตุ พ.ศ. 2556 หน้า 3-4
(1) เก็บรักษาและอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ
(2) ติดตาม รวบรวม หรือรับมอบเอกสารจดหมายเหตุจากหน่วยงานของรัฐ
(3) จัดหา ซื้อ หรือรับบริจาคเอกสารที่มีคุณค่าเป็นเอกสารจดหมายเหตุจากเอกชน
(4) จัดหมวดหมู่และจัดทําเครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุ
(5) จดบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับพระราชพิธี รัฐพิธี และศาสนพิธี
(6) รวบรวมเอกสารเหตุการณ์สําคัญของชาติ
(7) จัดทําบันทึกประวัติศาสตร์บอกเล่าโดยพิจารณาให้ครอบคลุมข้อเท็จจริง
อย่างรอบด้าน
(8) ให้บริการการศึกษา การค้นคว้า หรือการวิจัยเอกสารจดหมายเหตุ
(9) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ จัดให้มีสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ นิทรรศการ
และกิจกรรม เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ
(10) สนับสนุนด้านวิชาการแก่หอจดหมายเหตุของหน่วยงานของรัฐ
หอจดหมายเหตุท้องถิ่น และหอจดหมายเหตุเอกชน
(11) ดําเนินการอื่นตามที่อธิบดีมอบหมาย
ที่มา : พระราชบัญญัติจดหมายเหตุ พ.ศ. 2556 หน้า 3-4
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
1. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ (สำนักหอจดหมายเหตุ)
https://www.nat.go.th/
2. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
https://www.finearts.go.th/narama9
3. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่
https://www.finearts.go.th/chiangmaiarchives
4. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พะเยา
https://www.finearts.go.th/phayaoarchives
5. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร อุบลราชธานี
https://www.finearts.go.th/ubonarchives
6. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี
https://www.finearts.go.th/suphanburiarchives
7. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จันทบุรี
https://www.finearts.go.th/12archives
8. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตรัง
https://www.finearts.go.th/trangarchives
9. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สงขลา
https://www.finearts.go.th/songkhlaarchives
10. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยะลา
https://www.finearts.go.th/yalaarchives
11.หอจดหมายเหตุนายกรัฐมนตรีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
https://www.finearts.go.th/premarchives
หอจดหมายเหตุเฉพาะ องค์กรอื่น ๆ
1. ระบบจดหมายเหตุต่างประเทศทูลกระหม่อมอาจารย์
https://archives.nrct.go.th/archives-histdept/
2. หอจดหมายเหตุธนาคารแห่งประเทศไทย
https://www.bot.or.th/Thai/MuseumAndLearningCenter/
Archives/ArchivesServices/Pages/default.aspx
3. หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ
https://www.naph.or.th/
4. จดหมายเหตุรัฐสภา
https://library.parliament.go.th/th/thai-parliament-archive
5. จดหมายเหตุสภากาชาดไทย
https://museum.redcross.or.th/archive/site/archive-bg.php
6. หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
https://www.bia.or.th/html_th/
7. หอจดหมายเหตุเเละพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี
https://www.rama.mahidol.ac.th/ram/
8. พิพิธภัณฑ์การกระจายเสียงและหอจดหมายเหตุ กรมประชาสัมพันธ์
http://av.prd.go.th/fotoweb/
9. คลังจดหมายเหตุดิจิทัล สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
https://archives.museumsiam.org/
10. ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา
https://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/index.php
อยู่ระหว่างเพิ่มข้อมูล
หอจดหมายเหตุในสถาบันการศึกษา
1. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
http://arc.tu.ac.th/
2. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยขอนแก่น
https://archive.kku.ac.th/omeka/
3. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยทักษิณ
http://archives.tsu.ac.th/umedia4/index.php
4. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยพายัพ
https://archives.payap.ac.th/home/
5. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
http://archives.psd.ku.ac.th/
6. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยบูรพา
http://www.lib.buu.ac.th/buuarchives/
7. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยมหิดล
https://archive.li.mahidol.ac.th/
8. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยรังสิต
https://library.rsu.ac.th/archives/blog.html
9. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี
https://www.oas.psu.ac.th/APSU/
10. หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่
http://www.psuhistory.psu.ac.th/
11. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
https://archives.mfu.ac.th/
12. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
http://lib.hcu.ac.th/HCUarchives/
13. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
http://www.archives.cmru.ac.th/
14. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยแม่โจ้
https://archives.mju.ac.th/web/
15. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศิลปากร
https://www.plan.lib.su.ac.th/Archives/Search.aspx
16. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/ubuarchives/
17. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
http://oclm.wu.ac.th/arch/index.php
อยู่ระหว่างเพิ่มข้อมูล
หอจดหมายเหตุต่างประเทศ
1. หอจดหมายเหตุแห่งชาติอังกฤษ
http://www.nationalarchives.gov.uk/
2. หอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา
https://www.archives.gov/
3. หอจดหมายเหตุแห่งชาติไต้หวัน
https://www.archives.gov.tw/english/
4. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเกาหลี
http://www.archives.go.kr/english/index.jsp
5. หอจดหมายเหตุแห่งชาติสิงคโปร์
http://www.nas.gov.sg/
6. หอจดหมายเหตุแห่งชาติญี่ปุ่น
http://www.archives.go.jp/english/
7. หอจดหมายเหตุแห่งชาติจีน
http://www.shac.net.cn/shac_en/sy_135/
8. สภาจดหมายเหตุระหว่างประเทศ
https://www.ica.org/en
9. หอจดหมายเหตุแห่งชาติฝรั่งเศส
https://www.archives-nationales.culture.gouv.fr/en_GB/web/guest/home
อยู่ระหว่างเพิ่มข้อมูล
1. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ (สำนักหอจดหมายเหตุ)
https://www.nat.go.th/
2. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
https://www.finearts.go.th/narama9
3. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่
https://www.finearts.go.th/chiangmaiarchives
4. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พะเยา
https://www.finearts.go.th/phayaoarchives
5. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร อุบลราชธานี
https://www.finearts.go.th/ubonarchives
6. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จังหวัดสุพรรณบุรี
https://www.finearts.go.th/suphanburiarchives
7. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ จันทบุรี
https://www.finearts.go.th/12archives
8. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตรัง
https://www.finearts.go.th/trangarchives
9. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สงขลา
https://www.finearts.go.th/songkhlaarchives
10. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยะลา
https://www.finearts.go.th/yalaarchives
11.หอจดหมายเหตุนายกรัฐมนตรีพลเอก เปรม ติณสูลานนท์
https://www.finearts.go.th/premarchives
หอจดหมายเหตุเฉพาะ องค์กรอื่น ๆ
1. ระบบจดหมายเหตุต่างประเทศทูลกระหม่อมอาจารย์
https://archives.nrct.go.th/archives-histdept/
2. หอจดหมายเหตุธนาคารแห่งประเทศไทย
https://www.bot.or.th/Thai/MuseumAndLearningCenter/
Archives/ArchivesServices/Pages/default.aspx
3. หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ
https://www.naph.or.th/
4. จดหมายเหตุรัฐสภา
https://library.parliament.go.th/th/thai-parliament-archive
5. จดหมายเหตุสภากาชาดไทย
https://museum.redcross.or.th/archive/site/archive-bg.php
6. หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ
https://www.bia.or.th/html_th/
7. หอจดหมายเหตุเเละพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี
https://www.rama.mahidol.ac.th/ram/
8. พิพิธภัณฑ์การกระจายเสียงและหอจดหมายเหตุ กรมประชาสัมพันธ์
http://av.prd.go.th/fotoweb/
9. คลังจดหมายเหตุดิจิทัล สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ
https://archives.museumsiam.org/
10. ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา
https://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/index.php
อยู่ระหว่างเพิ่มข้อมูล
หอจดหมายเหตุในสถาบันการศึกษา
1. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
http://arc.tu.ac.th/
2. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยขอนแก่น
https://archive.kku.ac.th/omeka/
3. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยทักษิณ
http://archives.tsu.ac.th/umedia4/index.php
4. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยพายัพ
https://archives.payap.ac.th/home/
5. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
http://archives.psd.ku.ac.th/
6. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยบูรพา
http://www.lib.buu.ac.th/buuarchives/
7. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยมหิดล
https://archive.li.mahidol.ac.th/
8. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยรังสิต
https://library.rsu.ac.th/archives/blog.html
9. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี
https://www.oas.psu.ac.th/APSU/
10. หอประวัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่
http://www.psuhistory.psu.ac.th/
11. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
https://archives.mfu.ac.th/
12. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
http://lib.hcu.ac.th/HCUarchives/
13. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
http://www.archives.cmru.ac.th/
14. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยแม่โจ้
https://archives.mju.ac.th/web/
15. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศิลปากร
https://www.plan.lib.su.ac.th/Archives/Search.aspx
16. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/ubuarchives/
17. หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
http://oclm.wu.ac.th/arch/index.php
อยู่ระหว่างเพิ่มข้อมูล
หอจดหมายเหตุต่างประเทศ
1. หอจดหมายเหตุแห่งชาติอังกฤษ
http://www.nationalarchives.gov.uk/
2. หอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา
https://www.archives.gov/
3. หอจดหมายเหตุแห่งชาติไต้หวัน
https://www.archives.gov.tw/english/
4. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเกาหลี
http://www.archives.go.kr/english/index.jsp
5. หอจดหมายเหตุแห่งชาติสิงคโปร์
http://www.nas.gov.sg/
6. หอจดหมายเหตุแห่งชาติญี่ปุ่น
http://www.archives.go.jp/english/
7. หอจดหมายเหตุแห่งชาติจีน
http://www.shac.net.cn/shac_en/sy_135/
8. สภาจดหมายเหตุระหว่างประเทศ
https://www.ica.org/en
9. หอจดหมายเหตุแห่งชาติฝรั่งเศส
https://www.archives-nationales.culture.gouv.fr/en_GB/web/guest/home
อยู่ระหว่างเพิ่มข้อมูล