รายงานการเดินทางไปราชการ ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
๑. ชื่อโครงการ
โครงการมหกรรมการแสดงด้านนาฏดุริยางคศิลป์และดนตรีแบบบูรณาการ
๒. วัตถุประสงค์
๑. เพื่อใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อกลางในการกระชับความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกอาเซียน ผ่านการแสดงนาฏศิลป์ ดนตรี
๒. เพื่อเสริมสร้างพันธมิตรทางวัฒนธรรม เพื่อประโยชน์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในระยะยาว
๓. กำหนดเวลา
วันที่ ๑๓ – ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๙
๔. สถานที่
๑. สถานทูตไทย ณ นครเวียงจันทน์
๒. หอวัฒนธรรมแห่งชาติ นครหลวงเวียงจันทน์
๕. หน่วยงานผู้จัด
สำนักการสังคีต กรมศิลปากร
๖. หน่วยงานสนับสนุน
สถานทูตไทย ณ นครเวียงจันทน์
๗. กิจกรรม
๑. การแสดงโขน ณ หอวัฒนธรรมแห่งชาติ นครหลวงเวียงจันทน์
๒. การสาธิตศิลปะการแสดง ณ โรงเรียนศิลปะการแสดงแห่งชาติ
๘. คณะผู้แทนไทย
๑. |
นายปกรณ์ พรพิสุทธิ์ |
ผู้อำนวยการสำนักการสังคีต |
๒. |
นายสถาพร นิยมทอง |
ข้าราชการบำนาญ |
๓. |
น.ส.วันทนีย์ ม่วงบุญ |
ผู้ชำนาญการศิลปะการแสดง |
๔. |
นายประสาท ทองอร่าม |
ผู้ชำนาญการศิลปะการแสดง |
๕. |
นายลสิต อิศรางกูร ณ อยุธยา |
นักวิชาการละครและดนตรีชำนาญการพิเศษ |
๖. |
นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ |
นักวิชาการละครและดนตรีชำนาญการ |
๗. |
นายจรัญ พูลลาภ |
นักวิชาการละครและดนตรีชำนาญการ |
๘. |
นายสุรัตน์ เอี่ยมสอาด |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๙. |
น.ส.วรรณพินี สุขสม |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๐. |
นายสุรเดช เผ่าช่างทอง |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๑. |
นางวลัยพร กระทุ่มเขต |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๒. |
นางวนิตา กรินชัย |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๓. |
นายศตวรรษ พลับประสิทธิ์ |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๔. |
นายเจตน์ ศรีอ่ำอ่วม |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๕. |
นายธนพัชร์ ขาวรุ่งเรือง |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๖. |
นายสมเจตน์ ภู่นา |
นาฏศิลปินอาวุโส |
๑๗. |
นายสุริยะ ชิตท้วม |
ดุริยางคศิลปินอาวุโส |
๑๘. |
นางธัญทิพ คงลายทอง |
ดุริยางคศิลปินอาวุโส |
๑๙. |
นางอารมย์ พลอยหิรัญ |
ดุริยางคศิลปินอาวุโส |
๒๐. |
นายทรงพล ตาดเงิน |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๑. |
นายหัสดินทร์ ปานประสิทธิ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๒. |
นายศิริพงษ์ ทวีทรัพย์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๓. |
นายธรรมนูญ แรงไม่ลด |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๔. |
นายธงชัย สงบจิตร์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๕. |
นายฉันทวัฒน์ ชูแหวน |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๖. |
นายเอกภชิต วงศ์สิปปกร |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๗. |
น.ส.เยาวลักษณ์ ปาลกะวงศ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๘. |
นายกฤษกร สืบสายพรหม |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๒๙. |
นายวัชรวัน ธนะพัฒน์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๐. |
นายวัลลภ พรพิสุทธิ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๑. |
นายกิตติ จาตุประยูร |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๒. |
นายจุลทรัพย์ ดวงพัตรา |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๓. |
นายเกริกชัย ใหญ่ยิ่ง |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๔. |
นายศิลปิน ทองอร่าม |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๕. |
นายเอกสิทธิ์ เนตรานนท์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๖. |
นายศราวุธ อารมณ์ชื่น |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๗. |
น.ส.พิมพ์รัตน์ นะวะศิริ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๓๘. |
ม.ร.ว.รัศมีอาภา ฉัตรชัย |
นาฏศิลปินชำนาญงาน
|
๓๙. |
น.ส.เอกนันท์ พันธุรักษ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๔๐. |
น.ส.กษมา ทองอร่าม |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๔๑. |
นายดำริ กิตติพงษ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๔๒. |
น.ส.หนึ่งนุช เคหา |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๔๓. |
นางมาริ ธีระวรกุล |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๔๔. |
นายกิติศักดิ์ เขาสถิตย์ |
ดุริยางคศิลปินชำนาญงาน |
๔๕. |
นายทวีศักดิ์ อัครวงษ์ |
ดุริยางคศิลปินชำนาญงาน |
๔๖. |
นายประยงค์ ทองคำ |
ดุริยางคศิลปินชำนาญงาน |
๔๗. |
นายวรศิลป์ สังจุ้ย |
ดุริยางคศิลปินชำนาญงาน |
๔๘. |
นายฐาปณัฐ ธรรมเที่ยง |
ดุริยางคศิลปินชำนาญงาน |
๔๙. |
น.ส.วันเพ็ญ จิตตรง |
คีตศิลปินชำนาญงาน |
๕๐. |
น.ส.ภมรรัตน์ โพธิ์สัตย์ |
คีตศิลปินชำนาญงาน |
๕๑. |
นายเอก อรุณพันธ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๕๒. |
น.ส.สุพัตรา แสงคำพันธุ์ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๕๓. |
นายสุวรรณ กลิ่นอำพร |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๕๔. |
น.ส.ปภาวี จึงประวัติ |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๕๕. |
นายสุรเดช เดชอุดม |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๕๖. |
น.ส.ภาสินี ปั้นศิริ |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๕๗. |
นายรัฐพร เคหา |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๕๘. |
น.ส.ศรีสุคนธ์ บัวเอี่ยม |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๕๙. |
น.ส.อาภัสรา นกออก |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๖๐. |
น.ส.จริยา สุขธรรม |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๖๑. |
น.ส.ภัณฑิญา วิภารัตน์ |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๖๒. |
นายไชยวัฒน์ ธรรมวิชัย |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๖๓. |
นายพงษ์พิพัฒน์ สุวรรณมาลา |
นาฏศิลปินปฏิบัติงาน |
๖๔. |
นายอนุชา เลี้ยงสอน |
นาฏศิลปินชำนาญงาน |
๖๕. |
นายเกียรติศักดิ์ ร่มสันเทียะ |
คีตศิลปินปฏิบัติงาน |
๖๖. |
นายไพฑูรย์ ประดับค่าย |
นายช่างไฟฟ้าชำนาญงาน |
๖๗. |
น.ส.ลัดดา บรรพบุรุษ |
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน |
๖๘. |
น.ส.วัชรี โมกน้ำเที่ยง |
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน |
๖๙. |
นายพหุรงค์ อัครวงษ์ |
พนักงานราชการ |
๗๐. |
น.ส.รจนา อิสสรานุสรณ์ |
พนักงานราชการ |
๙. สรุปสาระของกิจกรรม
วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๙
คณะนาฏศิลป์ไทย (๘ คน) ประกอบด้วย
๑. นางสาววันทนีย์ ม่วงบุญ
๒. นายลสิต อิศรางกูร ณ อยุธยา
๓. นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ
๔. นางสาวรจนา อิสสรานุสรณ์
๕. นางสาวเอกนันท์ พันธุรักษ์
๖. นางสาวกษมา ทองอร่าม
๗. นางสาวอาภัสรา นกออก
๘. นางสาวภัณฑิญา วิภารัตน์
เดินทางออกจากสนามบินสุวรรณภูมิ เที่ยวบิน TG ๕๗๐ ซึ่งเป็นการเดินทางล่วงหน้าก่อนคณะใหญ่ เพื่อฝึกซ้อมการแสดงชุดลาว – ไทยปณิธาน ร่วมกับศิลปิน กองศิลปากรแห่งชาติ กรมศิลปะการแสดง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่กองศิลปากรแห่งชาติ บ้านโพนทัน เวลา ๑๔.๐๐ น.
คณะใหญ่เดินทางออกจากสำนักการสังคีต โดยพาหนะรถยนต์ เวลา ๒๐.๐๐ น. ถึงสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๖๖๙ เวลา ๑๐.๐๐ น.
วันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๙
เดินทางไปดูสถานที่ และเก็บอุปกรณ์การแสดง ที่หอวัฒนธรรมแห่งชาติ
วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙
การแสดงศิลปวัฒนธรรม ประกอบด้วย การแสดงชุดลาว – ไทยปณิธาน ซึ่งแสดงร่วมกันระหว่าง นาฏศิลปินไทย สำนักการสังคีต กรมศิลปากร และศิลปิน กองศิลปากรแห่งชาติ กรมศิลปะการแสดง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และการแสดงโขน จัดแสดง เวลา ๑๙.๓๐ น. ณ หอวัฒนธรรมแห่งชาติ มีผู้เข้าชมประมาณ ๑,๐๐๐ คน
บุคคลสำคัญของฝ่ายลาว ประกอบด้วย
๑. ท่านบัวเงิน ซาพูวง รองรัฐมนตรีกระทรวงแถลงข่าว วัฒนธรรมและท่องเที่ยว
๒. ดร.ดวงจำปี วุทิวง รองอธิบดีกรมศิลปะการแสดง ถวท.
๓. ท่านนางวีปะสง สุวันนะวง รองอธิบดีกรมศิลปะการแสดง ถวท.
ฝ่ายไทย ประกอบด้วย
๑. นายนภดล เทพพิทักษ์ เอกอัครราชทูตแห่งราชอาณาจักรไทย ประจำสปป.ลาว
๒. นายสุชาติ นพวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย
๓. นายอนันต์ ชูโชติ อธิบดีกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
การแสดงได้รับการตอบรับที่ดีจากผู้ชม และกรมศิลปะการแสดง ถวท. ซึ่งได้แสดงไมตรีทางวัฒนธรรมที่จะสานสัมพันธ์กันต่อไปในอนาคต
วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙
การแสดงและสาธิตศิลปะการแสดง นาฏศิลป์ – ดนตรีไทย ณ โรงเรียนศิลปะแห่งชาติ
วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙
ทัศนศึกษา ณ สถานที่สำคัญทางวัฒนธรรม
วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๙
เดินทางกลับสำนักการสังคีต กรมศิลปากร ด้วยความสวัสดิภาพ
๑๐. ข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม
การบริหารจัดการด้านการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ซึ่งทางสปป.ลาว จะมีความระมัดระวังในการอนุญาตให้ประเทศอื่นๆเข้าไปเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมต่างๆ การประสานงานจึงค่อนข้างมีปัญหา และอุปสรรค ดังนั้น จึงควรประสานงานผ่านหน่วยงานทางราชการของไทย คือ สถานทูตไทย ณ นครเวียงจันทน์ เนื่องจากรัฐบาลของ สปป.ลาว จะให้ความร่วมมืออย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม จึงเป็นการดีและเกิดประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานที่สำนักการสังคีต กรมศิลปากร ได้เดินทางไปประชุมหารือหรือพิจารณาเรื่องต่างๆ กับกรมศิลปะการแสดงของลาวมาล่วงหน้าแล้ว การเดินทางไปปฏิบัติราชการในครั้งนี้ ซึ่งเป็นคณะใหญ่จึงจึงได้รับความสะดวกจากการประสานงานกับสถานทูตไทย ณ นครเวียงจันทน์
นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ
นักวิชาการละครและดนตรีชำนาญการ
ผู้สรุปผลการเดินทางไปราชการ
(จำนวนผู้เข้าชม 1153 ครั้ง)