ความรู้ทั่วไป


img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๓ : Lay kram Goes Dixie
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราช นิพนธ์ลำดับที่ 37 : ในดวงใจนิรันดร์: Nai Duang Chai Niran(Still on My Mind)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๗ : แสงเดือน: Saeng Duean (Magic Beams)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๖ : ดวงใจกับความรัก: Duang chai kap khwam rak (never Mind the Hungry Men’s Blues)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 1 : แสงเทียน: Saeng Thian (Candlelight Blues)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 44 : เราสู้: Rao Su
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 2 : ยามเย็น : Yam Yen (Love at Sundown)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 5 : ชะตาชีวิต: Chata Chiwtt (H.M. Blues)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔ : เพลง ใกล้รุ่ง : Klai Rung (Near Dawn)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลง พระราชนิพนธ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การแห่ (เอ้) บั้งไฟ ตำบลดอนคา อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
การแห่ (เอ้) บั้งไฟ ตำบลดอนคา อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ความรู้เรื่องประเพณีลอยกระทง ตอนที่ 1 เรื่อง "ลอยกระทงมีมาแต่เมื่อไร ทำเพื่ออะไร"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๒๔ บทความเรื่อง น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
สำหรับบทความสัปดาห์นี้จัดทำขึ้น เพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในวโรกาสวันแม่แห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๔ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สงขลา ขอนำเสนอภาพถ่ายการจัดงานวันแม่แห่งชาติ และภาพถ่ายจดหมายเหตุพระราชกรณียกิจ ชุด “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ณ เมืองสงขลา” เรียบเรียงโดย : นางพัชรินทร์ ลั้งเเท้กุล หัวหน้าหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา กราฟิก เเละภาพประกอบ โดย นายวีรวัฒน์ เหลาธนู นักจดหมายเหตุปฏิบัติการ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๒๐ บทความเรื่อง “วันสงขลา” และ “ศาลหลักเมืองสงขลา”
บทความ เรื่อง วันสงขลาและศาลหลักเมืองสงขลา โดย นางพัชรินทร์ ลั้งเเท้กุล นักจดหมายเหตุชำนาญการ หัวหน้าหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๑๖ จากสุนทรภู่ ถึง ก. แสงจันทร์ ๑๐๐ ปี นิราศเทพา และนิราศทุ่งหวัง
ก่อนจะเข้าสู่บทความแอดมิน วีรวัฒน์ ขอให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ "นิราศ" ก่อนครับ นิราศ...คือ เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่าง ๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น นิราศนรินทร์ นิราศเมืองแกลง นิราศ...มักถูกพบ เเละเก็บรักษาไว้ในเเหล่งเรียนรู้ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ เช่น ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุ นักสะสมหนังสือ นักสะสมวรรณกรรมท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น นิราศ...ถูกโต้เเย้งว่าจะเก็บไว้หอสมุดหรือหอจดหมายเหตุ นิราศ...ถ้าเป็นต้นฉบับ เป็นลายมือเขียน รับมอบมาโดยตรง จะถูกเก็บรักษาไว้ในหอจดหมายเหตุ นิราศ...ที่เป็นหนังสือ จัดพิมพ์ ทำซ้ำ สำเนา หรือพิมพ์เป็นหนังสืองานศพ จะถูกจัดเก็บในหอสมุดแห่งชาติ ฉบับพิมพ์ใหม่จะอยู่ในหมวดวรรณกรรมให้บริการในห้องหนังสือทั่วไป แต่ถ้าเป็นฉบับพิมพ์เก่า จะอยู่ใน ส่วนของหนังสือท้องถิ่น หนังสืองานศพ หนังสือหายาก นิราศ...ถ้าถูกจัดเก็บสะสมโดยบุคคลเเละถูกส่งมอบต่อ ติดมาพร้อมเอกสารจดหมายเหตุที่บุคคลนั้นมอบให้ หรือประสงค์ให้กับหอจดหมายเหตุ หรืออาจติดปะปนหนังสือราชการซึ่งผู้ปฏิบัติงานนั้นสะสมไว้ จะคัดเเยกเเละถูกเก็บไว้ในหอจดหมายเหตุ ใน ประเภท หนังสือหายาก นิราศ...เป็น สารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จัดเป็นสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม ไม่แตกต่างกับ นวนิยาย หรือวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์ เเต่ก็สามารถใช้ข้อมูล วันเวลา สถานที่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ นิราศ...ที่ถูกจัดเก็บในหอจดหมายเหตุส่วนบุคคลนิราศก็จะกลายเป็นมรดกของบุคคลนั้น ที่เอามาเก็บในหอจดหมายเหตุเพื่อแสดงอัตลักษณ์ ว่า เขาผู้นั้น เป็นคนที่ชอบสะสม หนังสือนิราศ หรือวรรณกรรมต่าง ๆ เช่น นิราศทุ่งหวัง นิราศเทพา พบได้จากการสะสมของนายจรัส จันทร์พรหมรัตน์ หัวหน้างานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา ที่ได้เเบ่งปันข้อมูล ในทางกลับกัน ถ้านิราศนั้น คนสะสมหรืออาจารย์จรัส เป็นคนเขียนเป็นต้นฉบับ ก็กลายเป็นงานของเขา นิราศจะกลายเป็นจดหมายเหตุ ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม (CUTURAL HERITAGE) ซึ่งเอกสารจดหมายเหตุ (ARCHIVES) มาจาก เอกสารราชการ (RECORDS) + มรดกทางวัฒนธรรม (CUTURAL HERITAGE) นิราศ...ในความเห็นแอดมิน สามารถตีความได้กับการบันทึกเหตุการณ์สำคัญในขณะนั้น เพราะปรากฎ วัน เวลา สถานที่ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ต่างเพียงเเค่ใช้ลีลาการเรียบเรียง โดยใช้ร้อยกรอง เช่นกลอน โคลง เเทนการใช้ร้อยเเก้วเรียบเรียงโดยการบันทึกเหตุการณ์ นิราศ...สามารถนำข้อมูลมาเติมเต็มข้อมูลชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ หรือเอกสารจดหมายเหตุได้ ถ้านิราศนั้นเขียนในสมัยบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์นั้นๆ เช่น นิราศทุ่งหวัง ประพันธ์โดยกระจ่าง แสงจันทร์ (ก. แสงจันทร์) ครูผู้ถวายพระอักษรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ดำรงตำแหน่งอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ ก็สามารถนำนิราศมาเติมเต็มเอกสารจดหมายเหตุในสมัยนั้นที่ขาดหายหรือไม่ได้กล่าวถึงในเอกสารราชการนั้นได้ นิราศ...จึงไม่เป็นเพียงเเค่วรรณกรรมที่เขียนถึงคนรัก หรือเรื่องเชิงสังวาส ดังเช่น นิราศทุ่งหวังนี้ ให้ประโยชน์ในการบันทึกเรื่องราวระหว่างการเดินทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เรื่องราวท้องถิ่น ดังพระประสงค์ ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ สนจิตคิดแต่ถ้อย ระยะทาง ไม่ประสงค์ถึงนาง แน่งน้อย นักอ่านอย่าอางขนาง โอษฐ์ขนาบ นาพ่อ ผิวผิดคำถ้อย ขัดข้อง ขออภัย สรุปว่า เราจะพบนิราศเก็บรักษาในห้องสมุดมากกว่าเเหล่งอื่นใด และพบอยู่ในนักสะสมที่มีหอจดหมายเหตุส่วนบุคคล จนกว่าท่านนั้นจะส่งมอบหรือประสงค์มอบให้กับหอจดหมายเหตุเพื่อใช้เติมเติมเอกสารจดหเป็นจดหมายเหตุ หรือท่านนั้น เป็นเครือข่ายงานจดหมายเหตุกับหอจดหมายเหตุนั้น ๆ ดังที่นายวีรยุทธ พุทธธรรมรงค์ นักจดหมายเหตุ นำเสนอ บทความ เรื่อง จากสุนทรภู่ ถึง กระจ่าง แสงจันทร์ ๑๐๐ ปี นิราศเทพา และนิราศทุ่งหวัง ที่ได้ข้อมูลจากนายจรัส จันทร์พรหมรัตน์หัวหน้างานจดหมายเหตุเเละพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา (นักสะสม) เเละนายวุฒิชัย เพชรสุวรรณ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ อบจ. สงขลา เก็บข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ตามรอยการเสด็จ ซึ่งทั้งสองเป็นเครือข่ายงานจดหมายเหตุ ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา ติดตามได้จากบทความนี้ใน แผ่นภาพบทความที่เเนบในอัลบั้มนี้
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สิ่งของเครื่องใช้ในอดีตจากเอกสารจดหมายเหตุ เครื่องรับวิทยุสาธารณะ แบบ ๔ หลอด ณ ที่ว่าการอำเภอขลุง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พะหมี : ปริศนาคำทาย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประชาธิปไตยสมมุติในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

20 กันยายน วันเยาวชนแห่งชาติ วันพระราชสมภพสองยุวกษัตริย์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระแว่นสูรยกานต์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ ๒ พระราชินีผู้ยิ่งใหญ่แห่งสหราชอาณาจักร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันที่ ๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทรัพยศาสตร์ ตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ยาม: เรื่องราวของคนเล็ก ๆ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การสำรวจการเพาะปลูกกัญชาในจันทบุรี พุทธศักราช ๒๔๗๔-๒๔๗๕
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

คาร์โล ริโกลี กับผลงานจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดราชาธิวาสวิหาร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง พุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง พุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓ (ประมาณ ๓๐๐ - ๔๐๐ ปีมาแล้ว)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง พ.ศ. ๒๑๔๘
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง พุทธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง พุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓ (ประมาณ ๓๐๐ - ๔๐๐ ปีมาแล้ว)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางฉันสมอ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางลองหนาว
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปยืน ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ - ๒๒ (ประมาณ ๔๐๐ - ๕๐๐ ปีมาแล้ว)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปทรงเครื่องปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ (ประมาณ ๕๐๐ ปีมาแล้ว)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ราวครึ่งหลังของพุทธศตวรรษที่ ๒๑
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ ๒๑ (ประมาณ ๕๐๐ ปีมาแล้ว)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ศัพท์ช่างคำศิลป์ : ลายไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

จิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถ วัดภูมินทร์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เทคนิคและลักษณะการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถวัดเสม็ด
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปในประเทศไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เส้นฮ่อ องค์ความรู้จากครูช่าง นายอมร ศรีพจนารถ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

องค์ความรู้เรื่อง เรือกลไฟใต้แม่น้ำโขง ณ บ้านท่าไคร้ จังหวัดบึงกาฬ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

อุโบสถวัดประทุมธรรมชาติ จังหวัดสุรินทร์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ภาพจิตรกรรมไทยฝีพระหัตถ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชมพรเขตอุดมศักดิ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัดวังสาริกา จ.อุทัยธานี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 5 "วิถีชีวิตบ้านบ้าน : เรือนไทยภาคกลาง องค์ประกอบของเรือนเครื่องสับ"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 4 “องค์ความรู้จากแนวความคิดการออกแบบอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชาวนาไทย สุพรรณบุรี”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

องค์ความรู้ เรื่อง ผ้าพระบฏ (ผ้าบฏ) วัดมหาธาตุ อ.เชียงคาน จ.เลย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

จากศาลมณฑลจวบจนถึงศาลแขวงราชบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การจัดสร้างเรือพระที่นั่ง (จำลอง) ขนาดมาตราส่วน ๑ : ๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การจัดสร้างต้นแบบประติมากรรมนูนสูง: สัตว์หิมพานต์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เครื่องราชกกุธภัณฑ์และเครื่องราชูปโภคในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

รายการ ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ “เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านบ้านพระยากำธรพายัพทิศ”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ศรีวิชัยในกาลเวลา ตอน : ศรีวิชัยในความทรงจำของพระภิกษุอี้จิ้ง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๓ มิถุนายน ๒๕๖๕
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เรื่องราวของโค
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระชัยเมืองนครราชสีมา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาวล้านนาไทย เรื่อง ฟ้อนเจิง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันดำรงราชานุภาพ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เกาะยอ สวรรค์ของนักถีบ (ปั่น)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ตลาดวโรรสและความคึกคักในอดีต
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

นามอำเภอในเมืองเชียงใหม่
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

งานฉลองรัฐธรรมนูญ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ปกหลก หรือ ปกกะหลก
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

องค์ความรู้หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ ร.๙ นครราชสีมา : คัมภีร์ใบลาน : หลักฐานยืนยัน “ท้าวสุรนารี”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัดศรีสวาย เมืองสุโขทัย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

แหล่งภาพเขียนสีแหลมไฟไหม้
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

หินแกะสลัก Cameo / Intaglio
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

กลองมโหระทึกบ้านนาโบสถ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เตาเผาสังคโลกเป็นอย่างไร?
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

จารึกอักษรฝักขามในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ได้ทำการปรับปรุงการจัดแสดงห้องศิลาจารึก ที่ได้เก็บรวบรวมไว้ในพิพิธภัณฑ์มาเป็นเวลานาน และมีจำนวนมากที่สุดในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในภาคเหนือ โดยแบ่งเป็นจารึกอักษรมอญโบราณ และอักษรฝักขาม พบบริเวณอำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน และบริเวณโดยรอบ อักษรฝักขาม หมายถึง ตัวอักษรที่ใช้บันทึกเรื่องราว ลงบนศิลาจารึกในอาณาจักรล้านนา ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๔ มีลักษณะที่ใกล้เคียงอักษรโบราณในสมัยสุโขทัย ลักษณะตัวอักษรจะโค้งและผอมสูงมากกว่าจึงเรียกว่าตัวอักษรฝักขาม ซึ่งได้แบบอย่างไปจากอักษรสมัยสุโขทัยสมัยพระเจ้าลิไท เมื่อครั้งพระยากือนาโปรดให้พระราชทูตไปอาราธนาพระสุมนเถระขึ้นไปฟื้นฟูพระศาสนาที่เชียงใหม่ ดังปรากฏหลักฐานในจารึกวัดพระยืน จังหวัดลำพูน ที่ถือว่าเป็นจารึกอักษรไทย ภาษาไทยเก่าแก่ที่สุดที่พบในล้านนา ต่อมาได้มีการปรับเปลี่ยนจนกลายเป็นอักษรฝักขามจนได้รับความนิยมก่อนที่จะมีการนิยมใช้อักษรธรรมล้านนาแทนที่ในสมัยต่อมา เนื้อหาของจารึกส่วนใหญ่ที่ปรากฏในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชยนี้ ล้วนเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา การกัลปนาข้าคน ไร่นา จนถึงประวัติการสร้างวัด จารึกตัวอักษรฝักขามที่เก่าแก่ที่สุดคือจารึก กษัตริย์ราชวงศ์มังราย ลพ. ๙ ระบุ พ.ศ. ๑๙๕๔ พบที่จังหวัดพะเยา (ปัจจุบันจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน) ปัจจุบันจารึกอักษรฝักขามในพิพิภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย มีจำนวนทั้งสิ้น หลัก วัสดุทำจากหินทราย รูปทรงส่วนมากมีทั้วที่แกะเป็นแผ่นทรงใบเสมา และเป็นแท่งคล้ายศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พบในบริเวณวัดพระธาตุหริภุญชัย และในเขตจังหวัดลำพูน ส่วนมากกำหนดอายุอยู่ในช่วงรัชกาลพระเมืองแก้ว กษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย สำหรับโพสต์นี้ ขอนำเสนอจารึกอักษรฝักขามบางส่วน สำหรับจารึกหลักอื่นๆ ทางพิพิธภัณพสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จะได้นำมาเผยแพร่ในโอกาสต่อไป
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระยาจักรพรรดิราชผู้ปราบทั่วทั้งจักรวาล ที่ซุ้มปรางค์ทิศ พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ภาชนะดินเผาสมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric pottery)
ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับการชมพิพิธภัณฑ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สถานีรถไฟอยุธยา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เลาะลัดวัดเก่าเล่าเรื่องเมืองเพ็ชร์ตอน วัดโคกหม้อ (ร้าง)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เลาะลัดวัดเก่าเล่าเรื่องเมืองเพ็ชร์ตอน วัดท่าเรือ (ร้าง)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 1 "พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชาวนาไทย สุพรรณบุรี ตัวแทนของชาวนาไทย"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 2 "พระมหากรุณาธิคุณต่อเกษตรกรชาวไทย"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 3 "จากพระมหากรุณาธิคุณต่อชาวนาสุพรรณบุรีสู่การก่อตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติชาวนาไทย สุพรรณบุรี แห่งแรก"
รายละเอียดเพิ่มเติม