ความรู้ทั่วไป


img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๕ : ยามค่ำ: Yam Kham (Twilight)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๔๒ : เกษตรศาสตร์ 8 : Kasetsart
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๘ : เมื่อโสมส่อง: Muea Som Song(I Never Dream)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 43 : ความฝันอันสูงสุด : “Kwam Fan An Sung Sut” (The Impossible Dream)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๙ : ลมหนาว: Lom Nao (Love in Spring)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 30 : ภิรมย์รัก : Phirom Ruk (A Love Story)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๐ : ศุกร์สัญลักษณ์ : Suk Sanyalak (Friday Night Rag)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 34 : แผ่นดินของเรา : Phaen Din Khong Rao(Alexandra)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 45 : เรา - เหล่าราบ 21: We - Infantry 21
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 35 : พระมหามงคล: Phra Maha Mongkhon
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 46 : Blues for Uthit : เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 46
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๒ : Can’ you Ever See
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 36 : ธรรมศาสตร์: Thammasat(Yoong Thong)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๑๒ : แก้วตาขวัญใจ: Kaew Ta Khwan Chai (Love Light in My Heart)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 47 : รัก : Rak (Love)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ ๒๓ : Lay kram Goes Dixie
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๒๐ บทความเรื่อง “วันสงขลา” และ “ศาลหลักเมืองสงขลา”
บทความ เรื่อง วันสงขลาและศาลหลักเมืองสงขลา โดย นางพัชรินทร์ ลั้งเเท้กุล นักจดหมายเหตุชำนาญการ หัวหน้าหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๑๖ จากสุนทรภู่ ถึง ก. แสงจันทร์ ๑๐๐ ปี นิราศเทพา และนิราศทุ่งหวัง
ก่อนจะเข้าสู่บทความแอดมิน วีรวัฒน์ ขอให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ "นิราศ" ก่อนครับ นิราศ...คือ เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่าง ๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น นิราศนรินทร์ นิราศเมืองแกลง นิราศ...มักถูกพบ เเละเก็บรักษาไว้ในเเหล่งเรียนรู้ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ เช่น ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุ นักสะสมหนังสือ นักสะสมวรรณกรรมท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น นิราศ...ถูกโต้เเย้งว่าจะเก็บไว้หอสมุดหรือหอจดหมายเหตุ นิราศ...ถ้าเป็นต้นฉบับ เป็นลายมือเขียน รับมอบมาโดยตรง จะถูกเก็บรักษาไว้ในหอจดหมายเหตุ นิราศ...ที่เป็นหนังสือ จัดพิมพ์ ทำซ้ำ สำเนา หรือพิมพ์เป็นหนังสืองานศพ จะถูกจัดเก็บในหอสมุดแห่งชาติ ฉบับพิมพ์ใหม่จะอยู่ในหมวดวรรณกรรมให้บริการในห้องหนังสือทั่วไป แต่ถ้าเป็นฉบับพิมพ์เก่า จะอยู่ใน ส่วนของหนังสือท้องถิ่น หนังสืองานศพ หนังสือหายาก นิราศ...ถ้าถูกจัดเก็บสะสมโดยบุคคลเเละถูกส่งมอบต่อ ติดมาพร้อมเอกสารจดหมายเหตุที่บุคคลนั้นมอบให้ หรือประสงค์ให้กับหอจดหมายเหตุ หรืออาจติดปะปนหนังสือราชการซึ่งผู้ปฏิบัติงานนั้นสะสมไว้ จะคัดเเยกเเละถูกเก็บไว้ในหอจดหมายเหตุ ใน ประเภท หนังสือหายาก นิราศ...เป็น สารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จัดเป็นสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม ไม่แตกต่างกับ นวนิยาย หรือวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์ เเต่ก็สามารถใช้ข้อมูล วันเวลา สถานที่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ นิราศ...ที่ถูกจัดเก็บในหอจดหมายเหตุส่วนบุคคลนิราศก็จะกลายเป็นมรดกของบุคคลนั้น ที่เอามาเก็บในหอจดหมายเหตุเพื่อแสดงอัตลักษณ์ ว่า เขาผู้นั้น เป็นคนที่ชอบสะสม หนังสือนิราศ หรือวรรณกรรมต่าง ๆ เช่น นิราศทุ่งหวัง นิราศเทพา พบได้จากการสะสมของนายจรัส จันทร์พรหมรัตน์ หัวหน้างานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา ที่ได้เเบ่งปันข้อมูล ในทางกลับกัน ถ้านิราศนั้น คนสะสมหรืออาจารย์จรัส เป็นคนเขียนเป็นต้นฉบับ ก็กลายเป็นงานของเขา นิราศจะกลายเป็นจดหมายเหตุ ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม (CUTURAL HERITAGE) ซึ่งเอกสารจดหมายเหตุ (ARCHIVES) มาจาก เอกสารราชการ (RECORDS) + มรดกทางวัฒนธรรม (CUTURAL HERITAGE) นิราศ...ในความเห็นแอดมิน สามารถตีความได้กับการบันทึกเหตุการณ์สำคัญในขณะนั้น เพราะปรากฎ วัน เวลา สถานที่ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ต่างเพียงเเค่ใช้ลีลาการเรียบเรียง โดยใช้ร้อยกรอง เช่นกลอน โคลง เเทนการใช้ร้อยเเก้วเรียบเรียงโดยการบันทึกเหตุการณ์ นิราศ...สามารถนำข้อมูลมาเติมเต็มข้อมูลชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ หรือเอกสารจดหมายเหตุได้ ถ้านิราศนั้นเขียนในสมัยบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์นั้นๆ เช่น นิราศทุ่งหวัง ประพันธ์โดยกระจ่าง แสงจันทร์ (ก. แสงจันทร์) ครูผู้ถวายพระอักษรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ดำรงตำแหน่งอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ ก็สามารถนำนิราศมาเติมเต็มเอกสารจดหมายเหตุในสมัยนั้นที่ขาดหายหรือไม่ได้กล่าวถึงในเอกสารราชการนั้นได้ นิราศ...จึงไม่เป็นเพียงเเค่วรรณกรรมที่เขียนถึงคนรัก หรือเรื่องเชิงสังวาส ดังเช่น นิราศทุ่งหวังนี้ ให้ประโยชน์ในการบันทึกเรื่องราวระหว่างการเดินทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เรื่องราวท้องถิ่น ดังพระประสงค์ ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ สนจิตคิดแต่ถ้อย ระยะทาง ไม่ประสงค์ถึงนาง แน่งน้อย นักอ่านอย่าอางขนาง โอษฐ์ขนาบ นาพ่อ ผิวผิดคำถ้อย ขัดข้อง ขออภัย สรุปว่า เราจะพบนิราศเก็บรักษาในห้องสมุดมากกว่าเเหล่งอื่นใด และพบอยู่ในนักสะสมที่มีหอจดหมายเหตุส่วนบุคคล จนกว่าท่านนั้นจะส่งมอบหรือประสงค์มอบให้กับหอจดหมายเหตุเพื่อใช้เติมเติมเอกสารจดหเป็นจดหมายเหตุ หรือท่านนั้น เป็นเครือข่ายงานจดหมายเหตุกับหอจดหมายเหตุนั้น ๆ ดังที่นายวีรยุทธ พุทธธรรมรงค์ นักจดหมายเหตุ นำเสนอ บทความ เรื่อง จากสุนทรภู่ ถึง กระจ่าง แสงจันทร์ ๑๐๐ ปี นิราศเทพา และนิราศทุ่งหวัง ที่ได้ข้อมูลจากนายจรัส จันทร์พรหมรัตน์หัวหน้างานจดหมายเหตุเเละพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา (นักสะสม) เเละนายวุฒิชัย เพชรสุวรรณ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ อบจ. สงขลา เก็บข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ตามรอยการเสด็จ ซึ่งทั้งสองเป็นเครือข่ายงานจดหมายเหตุ ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา ติดตามได้จากบทความนี้ใน แผ่นภาพบทความที่เเนบในอัลบั้มนี้
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สิ่งของเครื่องใช้ในอดีตจากเอกสารจดหมายเหตุ เครื่องรับวิทยุสาธารณะ แบบ ๔ หลอด ณ ที่ว่าการอำเภอขลุง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พะหมี : ปริศนาคำทาย
*เผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ โดยกลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมศิลปากร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประชาธิปไตยสมมุติในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

20 กันยายน วันเยาวชนแห่งชาติ วันพระราชสมภพสองยุวกษัตริย์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระแว่นสูรยกานต์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ ๒ พระราชินีผู้ยิ่งใหญ่แห่งสหราชอาณาจักร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันที่ ๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทรัพยศาสตร์ ตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ยาม: เรื่องราวของคนเล็ก ๆ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การสำรวจการเพาะปลูกกัญชาในจันทบุรี พุทธศักราช ๒๔๗๔-๒๔๗๕
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

คาร์โล ริโกลี กับผลงานจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดราชาธิวาสวิหาร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

องค์ความรู้เรื่อง "ใบเสมาที่พบจากการขุดค้นวัดกู่สุวรรณวนาราม อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การสอบไล่ครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ ๕ (ตอนที่ ๑)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประยูร อุลุชาฎะ (พ.ศ. 2471 – 2543)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประสงค์ ปัทมานุช (พ.ศ. 2461 – 2523)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เบื้องหลังการอนุรักษ์ ภาพร่างพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ (รัชกาลที่ 6) เมื่อ พ.ศ. 2454
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ภาพร่างพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2454
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ภาพร่างต้นแบบจิตรกรรมฝาผนัง ภายในพระอุโบสถวัดราชาธิวาส
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

๑๑๒ ปี แห่งการเสด็จสวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า เจ้าสยาม
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระแท่นสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ใบมีดสัมฤทธิ์ (เกอ)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธเจ้าขนาบข้างด้วยรูปบุคคล สมัยทวารวดี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

แผ่นดินเผารูปกินรี พบจากเจดีย์หมายเลข ๒ เมืองโบราณอู่ทอง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประติมากรรมดินเผารูปสิงห์ ประติมากรรมประดับจุกภาชนะสมัยทวารวดี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

งานอนุรักษ์จิตรกรรมและประติมากรรมปูนปั้นเขียนสีวิหารวัดดอนทอง จังหวัดพิษณุโลก
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เทพา เมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเมืองจะนะ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัดถัมภาวาส (วัดบางตะโละ)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ศาลเจ้าแสงธรรมภูเก็ตกับการปรากฏสัญลักษณ์มงคลจีน
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การจัดสร้างพระที่นั่งราเชนทรยานน้อย ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ศัพท์ช่างคำศิลป์ : ลายไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

จิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถ วัดภูมินทร์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เทคนิคและลักษณะการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในอุโบสถวัดเสม็ด
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปในประเทศไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เส้นฮ่อ องค์ความรู้จากครูช่าง นายอมร ศรีพจนารถ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

องค์ความรู้เรื่อง เรือกลไฟใต้แม่น้ำโขง ณ บ้านท่าไคร้ จังหวัดบึงกาฬ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

อุโบสถวัดประทุมธรรมชาติ จังหวัดสุรินทร์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ภาพจิตรกรรมไทยฝีพระหัตถ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชมพรเขตอุดมศักดิ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัดวังสาริกา จ.อุทัยธานี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 5 "วิถีชีวิตบ้านบ้าน : เรือนไทยภาคกลาง องค์ประกอบของเรือนเครื่องสับ"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชวนมารู้จักชาวนาไทย ตอนที่ 4 “องค์ความรู้จากแนวความคิดการออกแบบอาคารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชาวนาไทย สุพรรณบุรี”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ไหว้พระสุขใจ ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ในวันสงกรานต์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทางรถไฟสายสวรรคโลก
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

รายการ ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ “เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านบ้านพระยากำธรพายัพทิศ”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ศรีวิชัยในกาลเวลา ตอน : ศรีวิชัยในความทรงจำของพระภิกษุอี้จิ้ง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๓ มิถุนายน ๒๕๖๕
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เรื่องราวของโค
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระชัยเมืองนครราชสีมา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาวล้านนาไทย เรื่อง ฟ้อนเจิง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันดำรงราชานุภาพ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เกาะยอ สวรรค์ของนักถีบ (ปั่น)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ตลาดวโรรสและความคึกคักในอดีต
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เปิดตำรายาโบราณ : ตำราพระโอสถพระนารายน์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พิพิธภัณฑ์กับการมีส่วนร่วมในการรับมือวิกฤตโรคระบาดในอดีต : กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ในประเทศสหรัฐอเมริกา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

องค์ความรู้ เรื่อง ผ้าพระบฏ (ผ้าบฏ) วัดมหาธาตุ อ.เชียงคาน จ.เลย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

นเรนทราทิตย์ผู้เนรมิตเขาพนมรุ้งดุจดั่งเขาไกรลาศ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เล่าเรื่องประติมานวิทยา: ไภษัชยคุรุไวฑูรย์ประภา (Bhaiṣajyaguruvaiḍūryaprabhā)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

แผนที่ปโตเลมี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พิพิธภัณฑ์คืออะไร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพิมพ์รูปพระสาวกมีจารึก จากเจดีย์หมายเลข ๑๑ เมืองโบราณอู่ทอง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เครื่องถ้วยเวียงกาหลง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พะเนียดคล้องช้าง จังหวัดลพบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

กรมศิลปากรกับการสร้างอนุสาวรีย์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

๔ พระธาตุสำคัญในภาคใต้
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

หอไตรวัดท่าแค จังหวัดลพบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วิถีชีวิตไทยทรงดำ จังหวัดสุพรรณบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

คติการสร้างปราสาทสด๊กก๊อกธม : คติการจำลองจักรวาล
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระคเณศ ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มัชฌิมาวาส
รายละเอียดเพิ่มเติม