...

รายงานการเดินทางไปราชการ ณ สาธารณรัฐอิตาลี การประชุมสมัยสามัญของศูนย์ระหว่างชาติว่าด้วยการศึกษา อนุรักษ์ และการบูรณปฏิสังขรณ์มรดกทางวัฒนธรรม (General Assembly of International Centre for the Study of the Preservation and Restoration of Cultural Property : ICCROM) ครั้งที่ ๒๘ ๒๗ – ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖

รายงานการเดินทางไปราชการ ณ สาธารณรัฐอิตาลี

. ชื่อโครงการ การประชุมสมัยสามัญของศูนย์ระหว่างชาติว่าด้วยการศึกษา อนุรักษ์ และการบูรณปฏิสังขรณ์มรดกทางวัฒนธรรม (General Assembly of International Centre for the Study of the Preservation and Restoration of Cultural Property : ICCROM) ครั้งที่ ๒๘

. วัตถุประสงค์

                    เพื่อประชุมสมัยสามัญประจำปีตามระเบียบวาระการประชุมที่กำหนด และเลือกตั้งสมาชิกสภา ICCROM

. กำหนดเวลา  ระหว่างวันที่ ๒๗๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖

. สถานที่       สำนักงานใหญ่องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) กรุงโรม สาธารณรัฐอิตาลี

. หน่วยผู้จัด   ศูนย์ระหว่างชาติว่าด้วยการศึกษา อนุรักษ์ และการบูรณปฏิสังขรณ์มรดกทางวัฒนธรรม(ICCROM) 

. กิจกรรม      ประชุมสมัยสามัญประจำปีตามระเบียบวาระการประชุมที่กำหนด

. ผู้เข้าร่วม

          ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสมาชิก จำนวน ๘๙ ประเทศ ได้แก่

๑. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย

๒. สาธารณรัฐแองโกลา

๓. สาธารณรัฐอาร์เจนตินา

๔. สาธารณรัฐอาร์เมเนีย

๕. ประเทศออสเตรเลีย

๖. สาธารณรัฐออสเตรีย

๗. สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน

๘. ราชอาณาจักรบาห์เรน

๙. สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

๑๐ ราชอาณาจักรเบลเยียม

๑๑. ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

๑๒. สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล

๑๓. ประเทศบรูไนดารุสซาลาม

๑๔. สาธารณรัฐบัลแกเรีย

๑๕. สาธารณรัฐแคเมอรูน

๑๖. ประเทศแคนาดา

๑๗. สาธารณรัฐชาด

๑๘. สาธารณรัฐชิลี

๑๙. สาธารณรัฐประชาชนจีน

๒๐. สาธารณรัฐโคลอมเบีย

๒๑. สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (ไอวอรี่โคสต์)

๒๒. สาธารณรัฐโครเอเชีย

๒๓. สาธารณรัฐไซปรัส

๒๔. สาธารณรัฐเช็ก

๒๕. ราชอาณาจักรเดนมาร์ก

๒๖. สาธารณรัฐโดมินิกัน

๒๗. สาธารณรัฐเอกวาดอร์

๒๘. สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์

๒๙. สาธารณรัฐเอสโตเนีย

๓๐. สาธารณรัฐฟินแลนด์

๓๑. สาธารณรัฐฝรั่งเศส

๓๒. สหพันธรัฐรัสเซีย

๓๓. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

๓๔. สาธารณรัฐกานา

๓๕. สาธารณรัฐเฮลเลนิก (กรีซ)

๓๖. สาธารณรัฐกัวเตมาลา

๓๗. สาธารณรัฐเฮติ

๓๘. สาธารณรัฐอินเดีย

๓๙. สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน

๔๐. สาธารณรัฐอิรัก

๔๑. ประเทศไอร์แลนด์

๔๒. รัฐอิสราเอล

๔๓. สาธารณรัฐอิตาลี

๔๔. ประเทศญี่ปุ่น

๔๕. ราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน

๔๖. สาธารณรัฐเคนยา

๔๗. สาธารณรัฐลัตเวีย

๔๘. สาธารณรัฐเลบานอน

๔๙. ราชอาณาจักรเลโซโท

๕๐. สาธารณรัฐลิทัวเนีย

๕๑. ราชรัฐลักเซมเบิร์ก

๕๒. สาธารณรัฐมัลดีฟส์

๕๓. สาธารณรัฐมอลตา

๕๔. สหรัฐเม็กซิโก

๕๕. ราชรัฐโมนาโก

๕๖. ราชอาณาจักรโมร็อกโก

๕๗. สาธารณรัฐโมซัมบิก

๕๘. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์

๕๙. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์

๖๐. ราชอาณาจักรนอร์เวย์

๖๑. รัฐสุลต่านโอมาน

๖๒. สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน

๖๓. สาธารณรัฐปารากวัย

๖๔. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

๖๕. สาธารณรัฐโปแลนด์

๖๖. สาธารณรัฐโปรตุเกส

๖๗. รัฐกาตาร์

๖๘. สาธารณรัฐเกาหลี

๖๙. สาธารณรัฐรวันดา

๗๐. ประเทศซาอุดีอาระเบีย

๗๑. สาธารณรัฐสโลวัก 

๗๒. สาธารณรัฐแอฟริกาใต้

๗๓. ราชอาณาจักรสเปน

๗๔. สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา

๗๕. สาธารณรัฐซูดาน

๗๖. ราชอาณาจักรสวีเดน

๗๗. สมาพันธรัฐสวิส (สวิตเซอร์แลนด์)

๗๘. ประเทศไทย

๗๙. สาธารณรัฐมาซิโดเนีย

๘๐. สาธารณรัฐตูนิเซีย

๘๑. สาธารณรัฐตุรกี

๘๒. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

๘๓. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ

๘๔. สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย

๘๕. สหรัฐอเมริกา

๘๖. สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา

๘๗. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม

๘๘. สาธารณรัฐเยเมน

๘๙. สาธารณรัฐซิมบับเว

ประเทศผู้เข้าร่วมที่ไม่ได้เป็นสมาชิก

๑. นครรัฐวาติกัน

๒. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

๓. ประเทศยูเครน

องค์กรเครือข่าย

๑. Academia Istropolitana Nova (AIN0VA)

๒. American University in Rome

๓. Associazione Herculaneum

๔. Centro Universitario Europeo per i Beni Culturali

๕. Commissione Nazionale Italiana Per L’UNESCO

    ๖. Consiglio Nazionzle delle Ricerche, Institute for the Conservation and Enhancement of Cultural Heritage

๗. Council of Europe

    ๘. Cultural Heritage protection Cooperation Office Asia/Pacific Cultural Center for UNESCO – Accu Nara Office

๙. Deutsches Archäologisches Institut – Abt. Rom

๑๐. European Confederation of Conservator-restorers’ Organizations - ECCO  

๑๑. Herity Italy and Herity International

๑๒. International Committee for the Conservation of Mosaics (ICCM)

๑๓. Icomos Italia

๑๔. Icomos Serbia

๑๕. Italian Geographical Society

๑๖. Kunsthistorisches Institut der Universität Bonn

๑๗. La Sapienza University

๑๘. Musei Vaticani

๑๙. OECD

๒๐. Organization of World Heritage Cities

๒๑. Romualdo Del Bianco Foundation – Life Beyond Tourism

๒๒. Trust for African Rock Art (TARA)

๒๓. UNESCO

๒๔. UNESCO Regional Office for Science and Culture in Europe

๒๕. University of Montreal

      ๒๖. University of Nova Gorica, Economic and Techniques for the Conservation of the Architectural and Environmental Heritage

      ๒๗. World Association for the Protection of Tangible and Intangible Cultural Heritage in Times of Armed Conflict (Watch)  

 

. สรุปสาระของกิจกรรม

          การประชุมครั้งนี้ ประกอบด้วยวาระการประชุม ๒๘ วาระ ดังนี้

          ระเบียบวาระที่ การเปิดประชุมอย่างเป็นทางการ

          ระเบียบวาระที่ การรับรองผู้สังเกตการณ์ (Acceptance of the Observers)

          ระเบียบวาระที่ การต้อนรับประเทศสมาชิกใหม่ (Welcome to New Member States)

         ระเบียบวาระที่ การเลือกตั้งประธานและรองประธาน สำหรับการประชุมสมัยสามัญของ ICCROM ครั้งที่ ๒๘ (Election of the President and three Vice- Presidents for the XXVIII Session of the General Assembly)

          ระเบียบวาระที่ การเลือกตั้งคณะกรรมการในการประชุม (Election of the Committees)

ระเบียบวาระที่ การรับรองระเบียบวาระการประชุมชั่วคราว

  (Adoption of the Provisional Agenda)

ระเบียบวาระที่ การมอบรางวัล ICCROM Award

ระเบียบวาระที่ ถ้อยแถลงและการแสดงความเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมและผู้สังเกตการณ์ใน ประเด็นทั่วไป (Statements and interventions of Delegates and Observers on general issues)

ระเบียบวาระที่ รายงานของคณะกรรมการตรวจตราสารแต่งตั้ง

                     (Report of the Credentials Committee)

ระเบียบวาระที่ ๑๐ รายงาน เรื่อง การค้างชำระค่าบำรุงของประเทศสมาชิก

                       (Report of ICCROM Member States in Arrears with Contributions)

ระเบียบวาระที่ ๑๑  รับรองรายงานการประชุมสมัยสามัญ ICCROM ครั้งที่ ๒๗ (Adoption of the Minutes of the XXVII Session of the General Assembly)

ระเบียบวาระที่ ๑๒  รายงานจากสภา ICCROM (Report of the ICCROM Council)

ระเบียบวาระที่ ๑๓  รายงานจากคณะกรรมการการเลือกตั้งสมาชิกสภา ICCROM

                         (Report of the Committee on Candidatures for the Council)

ระเบียบวาระที่ ๑๔  การนำเสนอผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา ICCROM

                        (Presentation of Candidates for Council)

ระเบียบวาระที่ ๑๕  รายงานสถานการณ์ปัจจุบันด้านที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของ ICCROM

                        (Report on current situation of ICCROM’s new premises)

ระเบียบวาระที่ ๑๖  การไว้อาลัย (In Memoriam)

ระเบียบวาระที่ ๑๗  รายงานโครงการดำเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖

                        (Report on Implementation of the Programme 2012-2013)

ระเบียบวาระที่ ๑๘  ต่อเนื่องจากระเบียบวาระที่ ๑๗ และรับรองรายงานการดำเนินงานในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖  (Item 17 continued and Adoption of the Report on Implementation of the Programme 2012-2013)

ระเบียบวาระที่ ๑๙ และ ๒๐  พิจารณาโครงการและงบประมาณ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ (Provisional Programme and Budget 2014-2015 and Approval by the General Assembly)

ระเบียบวาระที่ ๒๑  พิจารณาร่างการแก้ไขกฎ ICCROM 

                        (Proposed Amendments to the ICCROM Statutes)

ระเบียบวาระที่ ๒๒  การเลือกตั้งสมาชิกใหม่ของสภา ICCROM

                        (Election: New Members of Council)

ระเบียบวาระที่ ๒๓ และ ๒๔ ถ้อยแถลงและการแสดงความเห็นของผู้เข้าร่วมประชุมและผู้สังเกตการณ์ (Statements of Delegates and Observers)

ระเบียบวาระที่ ๒๕  ผลการเลือกตั้งสมาชิกใหม่ของสภา ICCROM

                        (Results of the Election: New Members of Council)

ระเบียบวาระที่ ๒๖  การเลือกตั้งผู้แทน ICCROM เป็นคณะทำงานด้านเงินสงเคราะห์ร่วมกับองค์การสหประชาชาติ  (Election of ICCROM representatives to the United Nations Joint Staff Pension Fund)

ระเบียบวาระที่ ๒๗  เรื่องอื่น ๆ (Other Business)

ระเบียบวาระที่ ๒๘  การรับรองรายงานการพิจารณาตามวาระต่าง ๆ ของการประชุมสมัยสามัญ ICCROM ครั้งที่ ๒๘ (Adoption of the Report Setting Forth the Decisions of the XXVIII Session of the General Assembly)

          นอกจากการประชุมตามวาระการประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมยังได้รับเชิญเข้าร่วมฟังการบรรยายพิเศษ เรื่อง ICCROM-ATHAR Regional Centre for the Protection of Cultural Heritage in the Arab States  Egyptian Academy in Rome ในวันพุธที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๙.๓๐ น. ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่าง Egyptian Academy และ ICCROM  การบรรยายพิเศษดังกล่าวเป็นการแนะนำให้รู้จักศูนย์ ICCROM-ATHAR Regional Centre for the Protection of Cultural Heritage in the Arab States ที่ได้ดำเนินการก่อตั้งขึ้นที่รัฐชาร์จาห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมถึงกิจกรรมของศูนย์แห่งนี้ที่ได้ดำเนินการแล้ว ซึ่งนำเสนอโดย Dr. Zaki Aslan

. ข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม

          การประชุมครั้งนี้เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมการประชุมได้รู้จัก ICCROM ดีขึ้น ได้รับทราบองค์ประกอบของศูนย์ ICCROM  กิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ที่อยู่ในความดูแลของ ICCROM  ตลอดจนแนวคิดในการดูแลรักษาและอนุรักษ์โบราณสถาน และประเด็นสำคัญที่วงการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมกำลังให้ความสำคัญ เช่น การบริหารความเสี่ยงที่มีต่อโบราณสถานอันเกิดจากภัยธรรมชาติและภัยสงคราม การป้องกันและการรับมือกับภัยพิบัติเหล่านี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหนืออย่างรวดเร็วภายหลังจากการเกิดภัยพิบัติ นอกจากนี้ยังเห็นความตั้งใจของ ICCROM ที่พยายามอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมทั้งประเภทที่จับต้องได้ (Tangible Heritage) และประเภทที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Heritage) โดยให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อย ภายใต้แนวคิดวัฒนธรรมของชุมชนและเพื่อชุมชน  ดังนั้น จึงควรจัดส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมอย่างสม่ำเสมอ เพื่อที่จะได้เรียนรู้การทำงานของ ICCROM และมีประสบการณ์ในการประชุมระดับนานาชาติ

 

 

 
 

                                                                                      

                                                                                             (นายสถาพร  เที่ยงธรรม)

                                                                                            นักโบราณคดีชำนาญการพิเศษ

 

 

.................................................

(นายศิริชัย  หวังเจริญตระกูล)

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์

 

 

 


  ผู้จัดทำรายงานการเดินทาง

(จำนวนผู้เข้าชม 583 ครั้ง)