ลงพื้นที่สแกนภาพสามมิติ ณ วัดอรุณราชวราราม ในโครงการวิจัย เรื่อง “การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อเพิ่มมูลค่าทุนทางอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนของแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร”
นายภูมิรัตน์ จบกลศึก นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร
ลงพื้นที่สแกนภาพสามมิติ ณ วัดอรุณราชวราราม ในโครงการวิจัย เรื่อง “การสร้างเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อเพิ่มมูลค่าทุนทางอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนของแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร”
ซึ่งเป็นโครงการของกองโบราณคดี กรมศิลปากร ร่วมกับสถาบันไทยศึกษา และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เสียบไฟเครื่องสแกน
เสียบสายต่อเครื่องสแกน
ใช้โปรแกรมของเครื่องสแกน EinScan HX
สแกนพระพุทธรูปในมณฑปทิศตะวันตก : พุทธประวัติตอนปรินิพพาน (แต่ละทิศก็จะมีพระพุทธรูปที่แตกต่างกัน)
สแกนขึ้นสีเขียว แสดงว่า Detect เจอ สแกนได้
สแกนขึ้นสีม่วง คือหา detect ไม่เจอ สแกนไม่เห็น ให้หาพื้นที่สแกนใหม่
สแกนขึ้นสีดำ คือ พื้นที่ที่ยังไม่ได้สแกน
เมื่อสแกนเสร็จแล้วก็จะขึ้นภาพปรากฏบนหน้าจอ ผู้ปฏิบัติงานก็ต้องทำการหาพื้นที่ที่เป็นสีดำสแกนขึ้นไปเรื่อยๆ
เครื่องสแกนจะมีปัญหากับ สีขาว, พื้นผิวมัน, สีทองสะท้อนแสง มีปัญหาสแกนติดยาก
งานนี้ ใช้เวลา Render ไฟล์ประมาณ 20 นาที
Merge 2ไฟล์เข้าด้วยกัน
คอมพิวเตอร์ควรใช้ RAM (Random Access Memory) 64-128 GB ขึ้นไป
สแกนฐานองค์พระต่อจนเสร็จ
เครื่องสแกนขึ้นสีแดง แสดงว่าระยะสแกนใกล้ไป
เครื่องสแกนขึ้นสีเขียว คือระยะสแกนกำลังพอดี
เครื่องสแกนขึ้นสีเขียว คือระยะสแกนกำลังพอดี
เครื่องสแกนขึ้นสีน้ำเงิน คือระยะสแกนไกลไป
ควรรักษาระยะห่างในการสแกนประมาณ 15-45 เซนติเมตร
สแกนพระสาวก
อุปสรรคที่ยากลำบากคือ ซอกเล็กซอกน้อยต่างๆที่สแกนเข้าถึงได้ยาก
ต้องสแกนพื้นที่รอบข้างเผื่อเอาไว้ 30% เพื่อเวลาที่เอาไฟล์มา Merge กันจะได้สามารถต่อกันได้
(ถ้าสแกนเร็ว กลับไปกลับมา จะทำให้ภาพซ้อนกัน ต้องทำการสแกนใหม่)
ม้วนเก็บสายไฟหลบฝน
ควรรักษาระยะห่างในการสแกนประมาณ 15-45 เซนติเมตร
สแกนพระสาวก
อุปสรรคที่ยากลำบากคือ ซอกเล็กซอกน้อยต่างๆที่สแกนเข้าถึงได้ยาก
ต้องสแกนพื้นที่รอบข้างเผื่อเอาไว้ 30% เพื่อเวลาที่เอาไฟล์มา Merge กันจะได้สามารถต่อกันได้
(ถ้าสแกนเร็ว กลับไปกลับมา จะทำให้ภาพซ้อนกัน ต้องทำการสแกนใหม่)
ม้วนเก็บสายไฟหลบฝน
(จำนวนผู้เข้าชม 371 ครั้ง)