พระมาลัย

ชื่อผู้แต่ง  พระมาลัย

ชื่อเรื่อง :    หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)

ปีที่พิมพ์ :    2495

สถานที่พิมพ์ :  มปท.

จำนวนหน้า    76 หน้า

                   หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ  หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :   พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช

ชื่อเรื่อง :     พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช ตุลาคม-พฤศจิกายน  2499

ปีที่พิมพ์ :   2500

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ

โรงพิมพ์      :  ป.ป.ท

จำนวนหน้า    219 หน้า

                   หนังสือพระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชประสงฆ์จะทรงผนวชในพุทธศาสนา เพราะทรงดำริว่าเป็นศาสนาประจำชาติ และทรงศรัทธายิ่งขึ้นเมื่อทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพราะความประจักว่าคำสอนของสมเด็จพระพุทธเจ้าประกอบด้วยเหตุผลและสัจธรรม  จึงมีพระราชดำรัสให้นายกรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ  และแจ้งพระราชประสงค์เพื่อทราบ  นายกรัฐมนตรีได้นำกระแสรับสั่งหารือรัฐสภา เพื่อจะทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในระหว่างที่ทรงพระผนวช จึงทรงแต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี  และรัฐบาลมอบกระทรวงวัฒนธรรมเป็นเจ้าของงาน   

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :    ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5

ชื่อเรื่อง :    ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดพิมพ์ในงานศพพระบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า

พวงสร้อยอางค์

ปีที่พิมพ์ :  2493

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : ท่าพระจันทร์

จำนวนหน้า    42 หน้า  

                   ในงานพระเมรุ ท้องสนามหลวง ใช้ได้กับทุกคนทุกหมู่คณะไม่เว้นแต่คณะสงฆ์ ให้รู้จักทำความเคาระต่อผู้ที่ตนควรเคารพโดยอาศัยระเบียบและธรรมเนียม และอาศัยระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์เป็นหลักวิชา  ลำดับชั้นตั้งแต่เจ้าอาวาสขึ้นไป และครูผู้สอน  ระเบียบแห่งการแสดงความเคารพเรียกว่าการขอขมา ขออัจจโยโทษ  และขอให้ใช้ระเบียบนี้อบรมอย่างน้อยปี ละสองครั้งคือต้นเข้าพรรษา และปลายพรรษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :     วิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา

ชื่อเรื่อง :     พุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ

ปีที่พิมพ์ :    2468

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : บรรณกิจ

จำนวนหน้า    152 หน้า

                    หนังสือพุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่มนี้ พระยาวิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา แต่งขึ้นเพื่อจะได้เป็นหนังสือที่ระลึกในโอกาสต่างๆ หรืออีกนัยหนึ่งเขียนเพื่อเตรียมไว้สำหรับใช้ในงานศพของตัวเองนั้นเอง การแต่งเป็นโครงภาษิตนุสรณ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :   พระมาลัย

ชื่อเรื่อง :    หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)

ปีที่พิมพ์ :    2495

สถานที่พิมพ์ :  มปท.

จำนวนหน้า    76 หน้า

                   หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร

ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ  หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :    ก้าน   จำนงภูมิเวท ,พลตรี

ชื่อเรื่อง :     แผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชนอนุสรณ์เนื่องในงานพระราชเพลิงศพพลตรีก้าน  จำนงภูมิเวท

ปีที่พิมพ์ :    2507

สถานที่พิมพ์ :  กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : เมืองสงขลา

จำนวนหน้า    240 หน้า

                    หนังสือแผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชน หรืออีกนัยหนึ่งแผนการสร้างชีวิตให้เจริญรุ่งเรืองพร้อมทั้งคำอธิบาย ที่ปรากฏอยู่เฉพาะหน้าของท่าน และการดำเนินชีวิตอันเหมาะสม ที่ผู้เขียนได้จัดสรรจากหลักการและตำราพร้อมคำอธิบายที่เห็นว่าสมควร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :    กรมศิลปากร

ชื่อเรื่อง :     ศิลปในประเทศไทย

ปีที่พิมพ์ :     2505

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      :  หจก.ศิวพร

จำนวนหน้า    298 หน้า

                   หนังสือศิลปะในประเทศไทยได้เขียนขึ้นหลังจากศิลปวัตถุไทย ซึ่งได้นำไปแสดง ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นกลับมาถึงประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว สืบเนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกาอยากให้ประชาชนของเขาได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปะของประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยจึงได้ติดต่อเพื่อขอให้ประเทศไทยได้นำศิลปวัตถุไปแสดงซึ่งใช้เวลาเจรจาและกว่าจะได้ข้อตกลงร่วมกันต้องใช้เวลา ถึง 3 ปี ซึ่งมีวัตถุแบบต่างๆ เช่นแบบทวารวดี แบบเทวรูป ศิลปะแบบศรีวิชัย ศิลปะแบบลพบุรี ศิลปะแบบเชียงแสน ศิลปแบบสุโขทัย ศิลปะแบบอู่ทอง ศิลปะแบบอยุธยา และศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ รวมทั้งหมด 295 รายการ และได้ไปจัดแสดง ณ มหาวิทยาลัยอินเดียนา และเป็นที่สนใจของคนสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :    นายฟัก  สุทธิชาติ

ชื่อเรื่อง :     อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก  สุทธิชาติ

ปีที่พิมพ์ :    2516

สถานที่พิมพ์ :  กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      :  ร.ส.พ.

จำนวนหน้า    104 หน้า

                   หนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก  สุทธิชาติ 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง :    กรมศิลปกร

ชื่อเรื่อง :      ประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาของไทย  

ปีที่พิมพ์ :    2544

สถานที่พิมพ์ :  กรุงเทพ

โรงพิมพ์      :  รุ่งสิทธิ์

จำนวนหน้า    28 หน้า

           หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากรได้จัดทำขี้นเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เกี่ยวศิลปวัฒนธรรมในมุมมองที่ลึกซี่ง โดยมีรูปภาพ ชี่งแสดงถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของไทย ให้ต่างชาติได้รับรู้และเป็นการเผยแพร่ส่งเสริมความเข้าทางศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทยสู่สาธารณะชน

 

 

 

 

 

 

 

 ชื่อผู้แต่ง นายโป้  พิโรจน์รัตน์ 

ชื่อเรื่อง :   เรื่องของธนบัตรในงานฌาปนกิจศพ

ปีที่พิมพ์ :  ๒๕๑๐

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : พระนคร

จำนวนหน้า    156 หน้า

          หนังสือเรื่องเรื่องของธนบัตรได้รวบรวมเรื่องของธนบัตรขึ้นเป็นหมวดหมู่เพื่อเป็นประโยชน์ของหน่วยงานที่ปฏิบัติ

อยู่หรือเพื่อแนะนำพนักงานใหม่ให้ทราบเพื่อจะได้มีประสิทธิ์ภาพในการทำงาน และเพื่อมีการเข้าเยี่ยมชมธนาคารแห่งประเทศไทย  หนังสือได้กล่าวถึงรายละเอียดของธนบัตรแต่ละรุ่นไว้อย่างละเอียด  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง  พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช

ชื่อเรื่อง :     พระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช ตุลาคม-พฤศจิกายน  2499

ปีที่พิมพ์ :   2500

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ

โรงพิมพ์      :  ป.ป.ท

จำนวนหน้า    219 หน้า

                   หนังสือพระราชพิธีและพระราชกิจในการทรงผนวช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชประสงฆ์จะทรงผนวชในพุทธศาสนา เพราะทรงดำริว่าเป็นศาสนาประจำชาติ และทรงศรัทธายิ่งขึ้นเมื่อทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพราะความประจักว่าคำสอนของสมเด็จพระพุทธเจ้าประกอบด้วยเหตุผลและสัจธรรม  จึงมีพระราชดำรัสให้นายกรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯ  และแจ้งพระราชประสงค์เพื่อทราบ  นายกรัฐมนตรีได้นำกระแสรับสั่งหารือรัฐสภา เพื่อจะทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในระหว่างที่ทรงพระผนวช จึงทรงแต่งตั้งสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี  และรัฐบาลมอบกระทรวงวัฒนธรรมเป็นเจ้าของงาน   

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง   ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5

ชื่อเรื่อง :    ประชุมพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดพิมพ์ในงานศพพระบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า

พวงสร้อยอางค์

ปีที่พิมพ์ :  2493

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : ท่าพระจันทร์

จำนวนหน้า    42 หน้า  

                   ในงานพระเมรุ ท้องสนามหลวง ใช้ได้กับทุกคนทุกหมู่คณะไม่เว้นแต่คณะสงฆ์ ให้รู้จักทำความเคาระต่อผู้ที่ตนควรเคารพโดยอาศัยระเบียบและธรรมเนียม และอาศัยระเบียบแบบแผนของคณะสงฆ์เป็นหลักวิชา  ลำดับชั้นตั้งแต่เจ้าอาวาสขึ้นไป และครูผู้สอน  ระเบียบแห่งการแสดงความเคารพเรียกว่าการขอขมา ขออัจจโยโทษ  และขอให้ใช้ระเบียบนี้อบรมอย่างน้อยปี ละสองครั้งคือต้นเข้าพรรษา และปลายพรรษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง    วิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา

ชื่อเรื่อง :     พุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ

ปีที่พิมพ์ :    2468

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : บรรณกิจ

จำนวนหน้า    152 หน้า

                    หนังสือพุทธภาษิตฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่มนี้ พระยาวิจิตรธรรมปริวัตร, พระยา แต่งขึ้นเพื่อจะได้เป็นหนังสือที่ระลึกในโอกาสต่างๆ หรืออีกนัยหนึ่งเขียนเพื่อเตรียมไว้สำหรับใช้ในงานศพของตัวเองนั้นเอง การแต่งเป็นโครงภาษิตนุสรณ์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง  พระมาลัย

ชื่อเรื่อง :    หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)

ปีที่พิมพ์ :    2495

สถานที่พิมพ์ :  มปท.

จำนวนหน้า    76 หน้า

                   หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร

ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ  หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง   ก้าน   จำนงภูมิเวท ,พลตรี

ชื่อเรื่อง :     แผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชนอนุสรณ์เนื่องในงานพระราชเพลิงศพพลตรีก้าน  จำนงภูมิเวท

ปีที่พิมพ์ :    2507

สถานที่พิมพ์ :  กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      : เมืองสงขลา

จำนวนหน้า    240 หน้า

                    หนังสือแผนผังสร้างตนให้อยู่ในระดับชุมชน หรืออีกนัยหนึ่งแผนการสร้างชีวิตให้เจริญรุ่งเรืองพร้อมทั้งคำอธิบาย ที่ปรากฏอยู่เฉพาะหน้าของท่าน และการดำเนินชีวิตอันเหมาะสม ที่ผู้เขียนได้จัดสรรจากหลักการและตำราพร้อมคำอธิบายที่เห็นว่าสมควร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง   กรมศิลปากร

ชื่อเรื่อง :     ศิลปในประเทศไทย

ปีที่พิมพ์ :     2505

สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      :  หจก.ศิวพร

จำนวนหน้า    298 หน้า

                   หนังสือศิลปะในประเทศไทยได้เขียนขึ้นหลังจากศิลปวัตถุไทย ซึ่งได้นำไปแสดง ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นกลับมาถึงประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว สืบเนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกาอยากให้ประชาชนของเขาได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศิลปะของประเทศต่างๆ รวมถึงประเทศไทยจึงได้ติดต่อเพื่อขอให้ประเทศไทยได้นำศิลปวัตถุไปแสดงซึ่งใช้เวลาเจรจาและกว่าจะได้ข้อตกลงร่วมกันต้องใช้เวลา ถึง 3 ปี ซึ่งมีวัตถุแบบต่างๆ เช่นแบบทวารวดี แบบเทวรูป ศิลปะแบบศรีวิชัย ศิลปะแบบลพบุรี ศิลปะแบบเชียงแสน ศิลปแบบสุโขทัย ศิลปะแบบอู่ทอง ศิลปะแบบอยุธยา และศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ รวมทั้งหมด 295 รายการ และได้ไปจัดแสดง ณ มหาวิทยาลัยอินเดียนา และเป็นที่สนใจของคนสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง   นายฟัก  สุทธิชาติ

ชื่อเรื่อง :     อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก  สุทธิชาติ

ปีที่พิมพ์ :    2516

สถานที่พิมพ์ :  กรุงเทพฯ

โรงพิมพ์      :  ร.ส.พ.

จำนวนหน้า    104 หน้า

                   หนังสืออนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนายฟัก  สุทธิชาติ 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง   กรมศิลปกร

ชื่อเรื่อง :      ประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาของไทย  

ปีที่พิมพ์ :    2544

สถานที่พิมพ์ :  กรุงเทพ

โรงพิมพ์      :  รุ่งสิทธิ์

จำนวนหน้า    28 หน้า

           หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากรได้จัดทำขี้นเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เกี่ยวศิลปวัฒนธรรมในมุมมองที่ลึกซี่ง โดยมีรูปภาพ ชี่งแสดงถึง มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของไทย ให้ต่างชาติได้รับรู้และเป็นการเผยแพร่ส่งเสริมความเข้าทางศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทยสู่สาธารณะชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ชื่อผู้แต่ง  พระมาลัย

ชื่อเรื่อง :     หนังสือเรื่องพระมาลัย (คัดจากสมุดข่อย)

ปีที่พิมพ์ :    2495

สถานที่พิมพ์ :  มปท.

จำนวนหน้า    76 หน้า

                   หนังสือพระมาลัย เป็นหนังสือเก่า ต้นฉบับเขียนในสมุดข่อย เขียนเป็นตัวโบราณ ไม่แน่ใจว่าเขียนขึ้นเมื่อไร ผู้เขียนได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ  หนังสือพระมาลัยเล่มนี้จึงรักษาถ้อยคำสำนวนไว้ให้ใกล้เคียงกับต้นฉบับเดิม 

 

 

 

 

 

 

 

 

(จำนวนผู้เข้าชม 1247 ครั้ง)

Messenger