"ฮักษ์" งานอนุรักษ์ประติมากรรมองค์พระประธานภายในอุโบสถวัดบูรณ์ "หลวงพ่อโต" ร่วมกับสำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา
ฮักษ์" งานอนุรักษ์ประติมากรรมองค์พระประธานภายในอุโบสถวัดบูรณ์"หลวงพ่อโต"ร่วมกับสำนักศิลปากรที่ ๑๐ นครราชสีมา
โดยมีนายมณฑล เมฆเคลื่อน นายช่างศิลปกรรมปฏิบัติงาน เป็นผู้ควบคุมงาน
โดยมีนายมณฑล เมฆเคลื่อน นายช่างศิลปกรรมปฏิบัติงาน เป็นผู้ควบคุมงาน
ประวัติ
"หลวงพ่อโต" เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวบ้านปะโคและชาวบำเหน็จณรงค์สร้างขึ้นด้วยเทคนิคโครงสร้างภายในก่ออิฐสอด้วยดินเหนียว ปั้นปูน ลงรักปิดทอง และประดับกระจกสี ประดิษฐานอยู่บนแท่นฐานไพทีสูง ภายในอุโบสถ์ ตามหลักฐานจากแผ่นศิลาจารึกได้ความว่า"พระฤทธิ์ฤาชัย เจ้าเมืองและทายกทั้งหลายได้ร่วมกันสร้างโบสถ์ขึ้น
ครั้นเวลาล่วงเลยมาจนถึงพุทธศักราช ๒๓๘๒ หลวงยกบัตรได้นำชาวพุทธที่เลื่อมใสศรัทธา สร้างพระประธานประดิษฐานไว้ในโบสถ์ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้กราบไหว้บูชา
เป็นปัจจัยให้ถึงแก่พระนิพพาน"
ระยะเวลาดำเนินการ เดือนกันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๖
วัดบูรณ์ บ้านปะโค อ.บำเหน็จณรงค์ จ.ชัยภูมิ
งานเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้กับชั้นรักสมุก
งานบันทึกหลักฐานสภาพความชำรุดต่างๆ ด้วยลายเส้นรูปสัญลักษณ์
หลวงพ่อโต
งานเสริมความมั่นคงแข็งแรงให้กับชั้นรักสมุก
งานบันทึกหลักฐานสภาพความชำรุดต่างๆ ด้วยลายเส้นรูปสัญลักษณ์
หลวงพ่อโต
งานทำความสะอาดคราบฝุ่นสกปรกด้วยน้ำกลั่น
สภาพความชำรุดต่างๆ
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดต่างๆ
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
สภาพความชำรุดเสียหายของชั้นรักสมุก
ภาพเปรียบเทียบก่อนและหลังงานทำความสะอาด
หลังงานทำความสะอาดคราบฝุ่นสกปรกต่างๆออก ด้วยน้ำกลั่น จะทำให้เห็นว่ามีการประดับกระจกสีต่างๆในส่วนยอดเกศมาลา(รัศมีเปลว)
หลังงานทำความสะอาดคราบฝุ่นสกปรกต่างๆออก ด้วยน้ำกลั่น จะทำให้เห็นว่ามีการประดับกระจกสีต่างๆในส่วนยอดเกศมาลา(รัศมีเปลว)
"หลวงพ่อโต"
เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง เป็นที่เคารพสักการะ และยึดเหนี่ยวจิตใจของลูกหลานชาวบ้านปะโค และชาวบำเหน็จณรงค์มาช้านาน
(จำนวนผู้เข้าชม 815 ครั้ง)