สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ ๓๖ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ประสูติเมื่อวันพุธ ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๘ ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ ๒๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๒๔ มีพระนามลำลองว่าทูลกระหม่อมบริพัตร ทั้งนี้ทางกองทัพเรือ ได้กำหนดให้วันที่ ๒๙ มิถุนายน ของทุกปีเป็น “วันบริพัตร” เพื่อน้อมรำลึกถึงพระกรุณาธิคุณพระองค์ท่าน
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี พระองค์เป็นราชาแห่งดนตรีไทยและเพลงไทย พระองค์ทรงเครื่องดนตรีไทยได้หลายชนิด เช่น ฆ้องวงใหญ่ ระนาด ซอ เป็นต้น ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น “พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม”
เรียบเรียงโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการ
หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง :
กรรณิการ์ ตันประเสริฐ. จดหมายเหตุวังไกลกังวล สมัยรัชกาลที่ ๗. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๘.
กองทัพเรือ. พระประวัติ จอมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=YISxxFRzaLM, ๒๕๖๕.
คณะทำงานการจัดการความรู้ กองดุริยางค์ทหารเรือ ฐานทัพเรือกรุงเทพ. ฐานข้อมูลเพลงพระนิพนธ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต.
[ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗, จาก: https://www.rtnsm.com/nms-military/index.html
โบร่ำโบราณ. ภาพวงดนตรีวังบางขุนพรหม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.facebook.com/103533367701231/photos/a.105451777509390/258702022184364/?type=3
ภาพเก่าเล่าใหม่. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.facebook.com/111141453749361/photos/a.111164763747030/338635230999981/?type=3, ๒๕๖๔.
วรชาติ มีชูบท. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับการดนตรี (๑). [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.vajiravudh.ac.th/OVtoVC/OVtoVC_63.htm
สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: http://rama5.flexiplan.co.th/en/gallery/search?cat_id=145
อินทุรัตนา, พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า. สมเด็จเจ้าฟ้าบริพัตร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๒.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูนกระหม่อมบริพัตร : กำสรวลสุรางค์ เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=NppqWjHtlHs, ๒๕๖๗.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูลกระหม่อมบริพัตร : แขกสาย เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=e0CFkHi5i1E, ๒๕๖๗.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูนกระหม่อมบริพัตร : แขกสาหร่าย เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=6k40lMErjHE, ๒๕๖๗.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูลกระหม่อมบริพัตร : ครวญหา เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=6ZMrSkn-bGg, ๒๕๖๗.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูลกระหม่อมบริพัตร : เพลงอาเฮีย เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=ElrVzQwTp9k, ๒๕๖๗.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูนกระหม่อมบริพัตร : สุรางค์จำเรียง เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?v=45OIVqw771w, ๒๕๖๗.
Music of Prince Paribatra. เพลงพระนิพนธ์ทูนกระหม่อมบริพัตร : อาถรรพ์ เถา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.youtube.com/watch?app=desktop&v=Re9PECeFxIE, ๒๕๖๗.
(จำนวนผู้เข้าชม 760 ครั้ง)