...

องค์ความรู้ : วรรณกรรมไทย เรื่อง ๔ ผลงาน ๔ นักเขียน กับ ดวงตราไปรษณียากรที่ระลึก ชุด ๑๐๐ ปี นักเขียนไทย

ดวงตราไปรษณียากรที่ระลึก ชุด ๑๐๐ ปี นักเขียนไทย เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ชาตกาลของ ๔ นักเขียนยุคบุกเบิกของไทย คือ หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินทร์ (ดอกไม้สด)นายกุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา)นายก้าน พึ่งบุญ ณ อยุธยา (ไม้ เมืองเดิม) และหม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ (วรเศวต) ซึ่งนักเขียนแต่ละท่านได้สร้างสรรค์ผลงานที่ทรงคุณค่าต่างๆ มายมาย และเป็นที่ประจักษ์มาจนถึงปัจจุบัน

เรียบเรียงโดย : นายปรัชญา พยุหพรรค์ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ควบบคุมโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการ หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่

แหล่งอ้างอิง :

กุหลาบ สายประดิษฐ์.  ข้างหลังภาพ.  พิมพ์ครั้งที่ ๔.  กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, ๒๕๒๙.

พงศกร.  ดอกไม้สด.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗จาก: https://anowl.co/anowlrod/readclassic/part9/

เมพ คอร์ปอเรชั่น.  ขุนศึก เล่ม ๑ (หนังสือเสียง).  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: https://www.mebmarket.com/index.php?action=BookDetails&book_id=86177

สารานุกรมเสรี วิกิพีเดีย.  ไม้ เมืองเดิม.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ไม้_เมืองเดิม

สารานุกรมเสรี วิกิพีเดีย.  หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗ จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง_รพีพัฒน์

หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร.  ผู้ดี.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗จาก: https://bkk.hibrary.me/rent/ebook/detail/e8c7533a-a41b-4502-a1c8-df4162c4f2c6

ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ.  ละครแห่งชีวิต.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗จาก: https://vajirayana.org/ละครแห่งชีวิต

อากาศดำเกิง รพีพัฒน์, ม.จ.  ละครแห่งชีวิต.  พิมพ์ครั้งที่ ๓.  กรุงเทพฯ: บางหลวง๒๕๓๗.

StampThailand.  แสตมป์ ๑๐๐ ปี นักเขียนไทย.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: http://www.stampthailand.com/product/586/แสตมป์-100-ปี-นักเขียนไทย, ๒๕๖๕.

The History Now.  ใครคือนักเขียนชื่อ กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือ ศรีบูรพา”.  [ออนไลน์].  สืบค้นเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๗, จาก: https://thehistorynow.com/sri-burapha/, ๒๕๖๓.

(จำนวนผู้เข้าชม 321 ครั้ง)


Messenger