เซี่ยวกาง
"เซี่ยวกาง" เมืองน่าน ณ บานประตูทิศตะวันออกวิหารวัดภูมินทร์
"เซี้ยวกาง, เสี้ยวกาง, เขี้ยวกาง, เซี่ยวกาง" สันนิษฐานว่ามาจากภาษาจีนแต้จิ๋ว จากคำว่า "เซ่ากัง" แปลว่า ยืนยาม ตู้ยาม หรือซุ้มยาม ทางจีนมีการทำรูปไว้ตามประตูเช่นกัน เรียก "มึ่งซิ้น" แปลว่า เทวดารักษาประตู
"ทวารบาล" มาจากคำว่า "ทวาร" แปลว่า ประตู หรือช่อง "บาล" แปลว่า เลี้ยง รักษา ปกครอง ทวารบาลจึงมีความหมายว่า ผู้รักษาประตู หรือผู้รักษาช่อง
เอกสารอ้างอิง
จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๓๓. http://legacy.orst.go.th/?knowledges=เซี่ยวกาง
พัชนะ บุญประดิษฐ์. ผู้รักษาประตู. http://legacy.orst.go.th/?knowledges=ผู้รักษาประตู-๑-กรกฎาคม
"เซี้ยวกาง, เสี้ยวกาง, เขี้ยวกาง, เซี่ยวกาง" สันนิษฐานว่ามาจากภาษาจีนแต้จิ๋ว จากคำว่า "เซ่ากัง" แปลว่า ยืนยาม ตู้ยาม หรือซุ้มยาม ทางจีนมีการทำรูปไว้ตามประตูเช่นกัน เรียก "มึ่งซิ้น" แปลว่า เทวดารักษาประตู
"ทวารบาล" มาจากคำว่า "ทวาร" แปลว่า ประตู หรือช่อง "บาล" แปลว่า เลี้ยง รักษา ปกครอง ทวารบาลจึงมีความหมายว่า ผู้รักษาประตู หรือผู้รักษาช่อง
เอกสารอ้างอิง
จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๓๓. http://legacy.orst.go.th/?knowledges=เซี่ยวกาง
พัชนะ บุญประดิษฐ์. ผู้รักษาประตู. http://legacy.orst.go.th/?knowledges=ผู้รักษาประตู-๑-กรกฎาคม
(จำนวนผู้เข้าชม 208 ครั้ง)