ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ทรงเปี่ยมด้วยพระปรีชาสามารถด้านภาษาไทย และทรงได้รับการถวายพระราชสมัญญา “พระมหาธีรราชเจ้า” และเมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง “วรรณคดีสโมสร” ขึ้น เพื่อส่งเสริมการแต่งหนังสือให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย มีสารประโยชน์ เนื่องจากในยุคสมัยนั้นการแต่งหนังสือมักเลียนแบบการแต่งหนังสือจากภาษาต่างประเทศ ทำให้ใช้หลักไวยากรณ์ผิดเพี้ยนไป ทั้งนี้เพื่อประกาศยกย่องหนังสือเล่มนั้นๆ และทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประทับตราพระราชลัญจกรรูปพระคเณศร์ เพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณเช่นเดียวกับที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชญจกรตรามังกรคาบแก้วเป็นเครื่องหมายของโบราณคดีสโมสร ถือว่าต้นกำเนิดเป็นครั้งแรกของรางวัลวรรณกรรมไทยที่ได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นทางการ
ควบคุมโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการ หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
เรียบเรียงโดย : นางสาวกาญจนาภา คำบุญเรือง สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา และนางสาวศิรินภา ติยะ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
แหล่งอ้างอิง :
เนติบัณฑิตยสภา ในพระบรมราชูปถัมภ์. พระราชประวัติรัชกาลที่ ๖. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗,
จาก: https://www.thethaibar.or.th/thaibarweb/index.php?option=com_content&view=article&id=18&Itemid=185&lang=th
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. “๑๐๐ ปี วรรณคดีสโมสร.” วารสารราชบัณฑิตยสถาน. ๓๙, ๓ (กรกฏาคม - กันยายน ๒๕๕๗): ๒๑๗-๓๓๗.
วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. วรรณคดีสโมสร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/วรรณคดีสโมสร
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. พระราชกฤษฎีการตั้งวรรณคดีสโมสร. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://ratchakitcha.soc.go.th/documents/1046045.pdf
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. ขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/ขุนช้างขุนแผน-ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. นิยายเบงคอลี. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/นิยายเบงคลี
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. บทละคร เรื่อง อิเหนา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/บทละคร-เรื่อง-อิเหนา
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. พระนลคำหลวง. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/พระนลคำหลวง
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. พระราชพิธีสิบสองเดือน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/พระราชพิธีสิบสองเดือน
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. มัทนะพาธา หรือตำนานแห่งดอกกุหลาบ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/มัทนะพาธา-หรือตำนานแห่งดอกกุหลาบ
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. ลิลิตพระลอ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/ลิลิตพระลอ
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. สมุทรโฆษคำฉันท์. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/https://vajirayana.org/สามก๊ก
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. สามก๊ก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/สามก๊ก
ห้องสมุดดิจิทัลวัชรญาณ. หัวใจนักรบ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗, จาก: https://vajirayana.org/หัวใจนักรบ
(จำนวนผู้เข้าชม 11 ครั้ง)