เรื่องราวมหาสงกรานต์จากแผ่นศิลาที่จารึก มีทั้งหมด ๗ แผ่น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ปรากฏอยู่บนคอสองเฉลียงศาลาทิศพระมณฑปหลังเหนือ
ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามฯ เป็นจุดเริ่มต้นของตำนานนางสงกรานต์ และความเชื่อมาอย่างยาวนาน และอัตลักษณ์อันโดดเด่นของประเพณีสงกรานต์ มาจนถึงปัจจุบัน…
เรียบเรียงโดย : นายธีรบูลย์ มิตรมโนชัย นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชำนาญการ
หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง :
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. ประกาศสงกรานต์ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๗. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๙ เมษายน ๒๕๖๗,
จาก: https://www.facebook.com/photo?fbid=745321764364327&set=pcb.745322907697546, ๒๕๖๗.
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. ประเพณีสงกรานต์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๖๔.
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. สงกรานต์...สืบสานประเพณีไทย สุขใจ...ไทยทั่วหล้า. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๘.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). จารึกเรื่องมหาสงกรานต์. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๙ เมษายน ๒๕๖๗, จาก: https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/search
(จำนวนผู้เข้าชม 392 ครั้ง)