ตามรอยวัฒนธรรมบ้านนา : บันทึกประวัติศาสตร์จากนโยบายสู่วิถีชีวิตชุมชน
- ย้อนกลับ
- ตามรอยวัฒนธรรมบ้านนา : บันทึกประวัติศาสตร์จากนโยบายสู่วิถีชีวิตชุมชน
ผู้แต่ง : มหาวิทยาลัยรามคำแหง และสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
ปีที่พิมพ์ : 2546
สถานที่พิมพ์ : ม.ป.ท.
สำนักพิมพ์ : ม.ป.ท. วัฒนธรรมในอดีตของบ้านนา
ซึ่งสืบสานมาจากวัฒนธรรมอันรุ่งเรืองทางพุทธศาสนาของแก่งสร้อยอายุกว่า 800 ปี ผู้เขียนและคณะร่วมกันตามรอยวัฒนธรรมบ้านนาเป็นบันทึกประวัติศาสตร์จากนโยบายของภาครัฐที่ต้องการพัฒนาประกาศด้วยการสร้างพื้นฐานที่สำคัญ เช่น เขื่อนภูมิพล อำเภอสามเงา จังหวัดตาก เมื่อมี พ.ศ. 2502 และสุดท้ายคือการเปลี่ยนแปลงวิถีชุมชนของผู้คนที่ต้องพบความยากลำบากอย่างแสนสาหัสจากการต่อสู้เพื่อสาร้างชีวิตใหม่ของชาวบ้านนาและชุมชนบริเวณเหนือเขื่อนภูมิพล ความยากลำบากในการอพยพ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากการพึ่งพาตนเองในสังคมเกษตรกรรมที่ผูกพันด้วยสายใยทางวัฒนธรรม เพื่อที่จะเข้าใจถึงวิถีชีวิตของผู้คนในบ้านนา ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนกับธรรมชาติ และสิ่งนอกเหนือธรรมชาติ ซึ่งสร้างสายใยที่เป็นรากเหง้าของชุมชนมาแต่เดิม
ปีที่พิมพ์ : 2546
สถานที่พิมพ์ : ม.ป.ท.
สำนักพิมพ์ : ม.ป.ท. วัฒนธรรมในอดีตของบ้านนา
ซึ่งสืบสานมาจากวัฒนธรรมอันรุ่งเรืองทางพุทธศาสนาของแก่งสร้อยอายุกว่า 800 ปี ผู้เขียนและคณะร่วมกันตามรอยวัฒนธรรมบ้านนาเป็นบันทึกประวัติศาสตร์จากนโยบายของภาครัฐที่ต้องการพัฒนาประกาศด้วยการสร้างพื้นฐานที่สำคัญ เช่น เขื่อนภูมิพล อำเภอสามเงา จังหวัดตาก เมื่อมี พ.ศ. 2502 และสุดท้ายคือการเปลี่ยนแปลงวิถีชุมชนของผู้คนที่ต้องพบความยากลำบากอย่างแสนสาหัสจากการต่อสู้เพื่อสาร้างชีวิตใหม่ของชาวบ้านนาและชุมชนบริเวณเหนือเขื่อนภูมิพล ความยากลำบากในการอพยพ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากการพึ่งพาตนเองในสังคมเกษตรกรรมที่ผูกพันด้วยสายใยทางวัฒนธรรม เพื่อที่จะเข้าใจถึงวิถีชีวิตของผู้คนในบ้านนา ความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนกับธรรมชาติ และสิ่งนอกเหนือธรรมชาติ ซึ่งสร้างสายใยที่เป็นรากเหง้าของชุมชนมาแต่เดิม
(จำนวนผู้เข้าชม 708 ครั้ง)