กลองหลวงลำพูน
- ย้อนกลับ
- กลองหลวงลำพูน
ชื่อเรื่อง : กลองหลวงลำพูน
ผู้แต่ง : สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน
ปีที่พิมพ์ : 2546
สถานที่พิมพ์ : ลำพูน
สำนักพิมพ์ : สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน
กลองหลวง เป็นภูมิปัญญาด้านศิลปะการแสดงที่สำคัญหนึ่งของจังหวัดลำพูน มีลักษณะเป็นกลองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของชาวล้านนา เดิมเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ในการประกอบจังหวัด ประเภทฟ้อนรำต่างๆ แต่ในปัจจุบันกลับถูกพัฒนานำมาปรับโครงสร้าง เละขนาดให้มีลักษณะเล็กลง เพื่อใช้สำหรับการแข่งขัน ซึ่งต่อมาได้เป็นที่นิยมแพร่หลายจนกลายเป็นเอกลักษณ์สำคัญของชาวลำพูน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง และน้ำแม่ทา ผู้มีบทบาทสำคัญ คือชาวไทยยอง ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองลำพูน อำเภอป่าซาง อำเภอบ้านโฮ่ง กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำพูน ในปัจจุบันจังหวัดลำพูนถือเป็นศูนย์กลางของกลองหลวงที่มีจำนวนอยู่ประเพณีแข่งขัน การผลิต การปรับแต่งและพัฒนากลองหลวง ซึ่งถือเป็นแหล่งภูมิปัญญาของชาวล้านนาไทย ดังนั้นสภาวัฒนธรรม จังหวัดลำพูน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ เละประเพณี ตลอดจนกระบวนการผลิต รวมถึงวิถีชีวิตระหว่างคนกับกลองหลวงในจังหวัดลำพูน
ผู้แต่ง : สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน
ปีที่พิมพ์ : 2546
สถานที่พิมพ์ : ลำพูน
สำนักพิมพ์ : สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำพูน
กลองหลวง เป็นภูมิปัญญาด้านศิลปะการแสดงที่สำคัญหนึ่งของจังหวัดลำพูน มีลักษณะเป็นกลองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของชาวล้านนา เดิมเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้ในการประกอบจังหวัด ประเภทฟ้อนรำต่างๆ แต่ในปัจจุบันกลับถูกพัฒนานำมาปรับโครงสร้าง เละขนาดให้มีลักษณะเล็กลง เพื่อใช้สำหรับการแข่งขัน ซึ่งต่อมาได้เป็นที่นิยมแพร่หลายจนกลายเป็นเอกลักษณ์สำคัญของชาวลำพูน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง และน้ำแม่ทา ผู้มีบทบาทสำคัญ คือชาวไทยยอง ในเขตพื้นที่อำเภอเมืองลำพูน อำเภอป่าซาง อำเภอบ้านโฮ่ง กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลำพูน ในปัจจุบันจังหวัดลำพูนถือเป็นศูนย์กลางของกลองหลวงที่มีจำนวนอยู่ประเพณีแข่งขัน การผลิต การปรับแต่งและพัฒนากลองหลวง ซึ่งถือเป็นแหล่งภูมิปัญญาของชาวล้านนาไทย ดังนั้นสภาวัฒนธรรม จังหวัดลำพูน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ เละประเพณี ตลอดจนกระบวนการผลิต รวมถึงวิถีชีวิตระหว่างคนกับกลองหลวงในจังหวัดลำพูน
(จำนวนผู้เข้าชม 1981 ครั้ง)